Page 2 - Microsoft Word - บทที่ 2.doc
P. 2

-4-
หรือไม แตกลับถือวากฎหมายของรัฐที่บังคับใชเปนกฎหมายที่สมบูรณใชไดจริง มีความ แนนอนและเครงครัด จอหน ออสติน (JOHN AUSTIN) ค.ศ. 1790-1859 เปนผูตั้งและสอน วิชา JURISPRUDENCE ในอังกฤษ ในทศวรรษที่ 19 อันเปนยุคที่ความคิดเรื่องอํานาจ อธิปไตยของรัฐกําลังไดรับความนิยมนับถือ ซึ่งเชื่อมั่นวาการจัดการบานเมืองใหรุงเรือง จะตองกระทําการโดยอํานาจสิทธิขาดของรัฐ เขาไดใหความหมายของคําวา “กฎหมาย” วา กฎหมาย คือ คําสั่ง คําบัญชาของรัฎฐาธิปตย ซ่ึงบังคับใชกับราษฎรทั้งหลาย ถาผูใดไม ปฏบิ ัติตามโดยปกติแลวผูนั้นตองรับโทษ
นอกจากปรัชญาทางกฎหมายทั้งสองสํานักนั้นแลว ยังมีนักปราชญสํานัก ความคิดอื่นๆ ที่มีความคิดเห็นคลายคลึงกับสํานักความคิดกฎหมายธรรมชาติ นั่นคือ เห็น วากฎหมายเปนส่ิงที่คูกันกับสังคมดังเชน สํานักประวัติศาสตร สํานักความคิดทางกฎหมาย ฝายคอมมิวนิสต สํานักความคิดทางสังคมวิทยาทางกฎหมาย สํานักความคิดทางสัจจนิยม ทางกฎหมาย
โดยสรุปแลว นักปราชญทางกฎหมายจากสํานักความคิดตางๆ ก็ไดพยายามที่ จะใหความหมายของคําวา “กฎหมาย” ใหไดความหมายที่ชัดเจนที่สุด สําหรับประเทศไทย นักกฎหมายที่สําคัญ อาทิเชน พระเจาบรมวงศเธอกรมหลวงราชบุรีดิเรกฤทธิ์ ไดรับสมญา วาพระบิดาแหงกฎหมายไทย ทรงใหคําจํากัดความวา “กฎหมาย คือ คําสั่งทั้งหลายของ ผูปกครองวาการแผนดินตอราษฎรทั้งหลาย เมื่อไมทําตามแลวตามธรรมดาตองโทษ” นอกจากนี้ยังมีนักกฎหมายทานอื่นๆ ก็อธิบายทํานองเดียวกันนี้
ศาสตราจารย เอกูต อธิบายวา “กฎหมายเปนคําสั่งหรือขอหามซึ่งมนุษยตอง เคารพในความประพฤติตอเพื่อนมนุษยดวยกัน อันมาจากรัฏฐาธิปตยหรือหมูมนุษย มี ลักษณะทั่วไปใชบังคับไดเสมอไปและจําตองปฏิบัติตาม”
ฉะน้ัน แมจะมีคํานิยามวาอยางไรก็ตาม ตางก็ไมสามารถที่จะอธิบายวา “กฎหมาย” ไดครบถวน ทั้งนี้ เพราะกฎหมายมีความเคลื่อนไหวและเปลี่ยนแปลงอยูเสมอ ดวย สาเหตุจากวิวัฒนาการของสังคมและกฎหมายนั่นเอง3
3 นุชทิพย ป. บรรจงศิลป. (2544). เอกสารประกอบการสอนวิชาความรูเบื้องตนเกี่ยวกับ กฎหมาย. หนา 11-13.
 



























































































   1   2   3   4   5