Page 133 - Research Design
P. 133
5.2
ตัวอย่างงานวิจัยเชิงสารวจ 1: Libraries as Transitory Workspaces
การวิจัยเชิงสําารวจ 113
ชื่อเรื่อง ห้องสมุดที่เป็นที่ทํางํานชั่วครําวและพื้นที่กํารบ่มเพําะ
(Libraries as Transitory Workspaces and Spatial Incubators)
ผู้วิจัย Mina Di Marino and Kimmo Lapintie. (2015) Department of Architecture, School of Arts, Design and Architecture, Aalto University, Finland.
การเผยแพร่ Library & Information Science Research. 37(2) 2015, 118-129.
ประเด็นการวิจัย
ความสาคัญ/ปัญหา/เป้าหมาย วิธีกํารทํางํานของผู้คนในปัจจุบันมีกํารเปลี่ยนแปลงไป โดยเฉพําะในอุตสําหกรรม
เกี่ยวกับควํามรู้ วิธีกํารทํางํานเดิมๆ มีแนวโน้มจะถูกแทนที่ด้วยวิธีกํารทํางํานที่ยืดหยุ่นมํากขึ้น กํารทํางํานทํางไกลเป็นอีกหนึ่งควํามท้ําทํายที่มีผลต่อกํารกําหนดแนวคิดและออกแบบพื้นที่ ปจั จบุ นั กํารศกึ ษําถงึ รปู แบบกํารพฒั นําหอ้ งสมดุ มกี ํารกลํา่ วถงึ กํารทํา งํานทํางไกล (teleworking) กันอย่ํางมําก แม้ว่ําปรํากฏกํารณ์กํารเปลี่ยนแปลงนี้จะยังมีไม่มํากในพื้นที่ของห้องสมุดเอง แต่ก็มีกํารส่งสัญญําณชัดเจนต่อกํารจัดกํารพื้นที่แบบใหม่ภํายในห้องสมุด บ้ําน ที่ทํางําน และกํารทํางํานทํางไกลมีกํารใช้เครือข่ํายพื้นที่สําธํารณะ พื้นที่กึ่งสําธํารณะ และพื้นที่ส่วนตัวที่ แตกตํา่ งไปจํากเดมิ กํารวจิ ยั นจี้ งึ ตอ้ งกํารศกึ ษําถงึ บทบําทใหมข่ องหอ้ งสมดุ ทจี่ ะเกดิ ขนึ้ ในบรบิ ท ดังกล่ําว
คา ถามการวจิ ยั บทบําทใหมข่ องหอ้ งสมดุ มลี กั ษณะเปน็ อยํา่ งไรบํา้ ง คนทํา งํานทํางไกล มีใครบ้ํางและมีมุมมองต่อห้องสมุดในปัจจุบันอย่ํางไร
วิธีการวิจัย
กํารวิจัยเชิงสํารวจในลักษณะกํารสํารวจแบบพรรณนํา (descriptive survey)
วิธีการที่ใช้ กํารวิจัยนี้เป็นกํารสํารวจที่ใช้เทคนิคเชิงคุณภําพคือ กํารสังเกตและกําร สัมภําษณ์ กลุ่มคนที่ทํางํานทํางไกล (teleworkers) โดยดําเนินกํารศึกษําในห้องสมุด 3 แห่ง