Page 145 - Research Design
P. 145
5.4
การวิจัยเชิงสําารวจ 125 The Built Environment of Japanese Shopping Streets
ตัวอย่างงานวิจัยเชิงสารวจ 3:
ชื่อเรื่อง The built environment of Japanese shopping streets as visual information on pedestrian vibrancy
ผู้วิจัย Giancarlo Carmelino and Toshihiro Hanazato (2019)
การเผยแพร่ Frontiers of Architectural Research 8(2019): 261-273.
ประเด็นการวิจัย
ความสาคัญ/ปัญหา/เป้าหมาย กํารวิจัยนี้ต้องกํารวิเครําะห์ควํามสัมพันธ์ระหว่ํางลักษณะกํารเดินเท้ําของคนกับสภําพ
แวดล้อมที่มองเห็น โดยผู้วิจัยเชื่อว่ําลักษณะกํารเดินเท้ําของผู้คนบนท้องถนนมีควํามแตกต่ําง กันไปตํามองค์ประกอบกํายภําพที่ผู้คนเดินผ่ํานและมองเห็น (visual information) ไม่ว่ําจะ เป็นควํามชัดเจนของมิติกํายภําพ (physical dimensions) วัตถุที่วํางอยู่ในพื้นที่ (objects) และร้ํานค้ํา (shops)
คาถามวิจัย ปัจจัยทํางกํายภําพที่คนมองเห็นบนถนนย่ํานช็อปปิ้ง (shopping street) และลักษณะกํารเดินเท้ํามีควํามสัมพันธ์กันแบบใด
วิธีการวิจัย
กํารวิจัยเชิงสํารวจ ในลักษณะกํารสํารวจเชิงวิเครําะห์ (analytical survey) ค้นหํา ควํามสัมพันธ์ระหว่ํางตัวแปร
วิธีการที่ใช้ กํารสํารวจด้วยกํารสังเกตกํารณ์
กรณีตัวอย่ํางเป็นถนนย่ํานช็อปปิ้ง 20 แห่งในโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น (ภําพประกอบ 5.9) เพื่อวิเครําะห์ถึงลักษณะกํายภําพที่มองเห็นและกํารเดินของผู้คน
กํารสํารวจภําคสนําม มีกํารสังเกตกํารณ์และบันทึกข้อมูลทุกวัน วันละ 12 ชั่วโมง (9:00-21:00 น.) โดยกํารตดิ ตําม (tracking) กลมุ่ ตวั อยํา่ งจํา นวน 240 จดุ ขอ้ มลู (data points) ช่วงเดือนกรกฎําคม-สิงหําคม 2017 และเดือนตุลําคม-พฤศจิกํายน 2017
กํารสังเกตกํารณ์ เป็นกํารเก็บข้อมูลและบันทึกด้วยกํารนับ ประกอบด้วย 28 ตัวแปร ย่อย จําก 4 กลุ่มตัวแปรหลัก ได้แก่