Page 148 - Research Design
P. 148
128 การออกแบบการวิจัยสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง
ผลการวิจัยที่สาคัญ
ผลกํารสํารวจและวิเครําะห์ด้วย cluster analysis พบว่ํา ถนนช็อปปิ้ง (shopping street) สํามํารถแบ่งได้เป็น 4 กลุ่ม คือ
(1) ถนนช็อปปิ้งที่เป็นถนนขนําดใหญ่และมีร้ํานค้ําขนําดใหญ่
(2) ถนนช็อปปิ้งที่มีร้ํานค้ําหลํากหลํายและอยู่ไกลจํากชุมชน
(3) ถนนช็อปปิ้งที่มีร้ํานค้ําหลํากหลํายและอยู่ใกล้กับชุมชน
(4) ถนนชอ็ ปปง้ิ ทมี่ รี ํา้ นคํา้ ไมห่ นําแนน่ ไมไ่ กลจํากชมุ ชน และมกี ระถํางดอกไม้ (flower
pots) จํานวนมําก
นอกจํากนพี้ บวํา่ ปจั จยั ดํา้ นถนนรวมกบั รํา้ นทมี่ คี วํามเฉพําะ (specialization of shops)
ของสินค้ํา (ร้ํานที่ไม่ได้ขํายสินค้ําหลํากหลําย) มีแนวโน้มที่คนจะเดินช้ําลงเม่ือผ่ํานบริเวณ หน้ําร้ํานและมีปริมําณคนเดินผ่ํานมํากกว่ํา และพบว่ํา มีควํามเชื่อมโยงกันระหว่ําง จํานวนของ กระถํางดอกไม้กับควํามคึกคักของคนเดิน (pedestrian vibrancy) กล่ําวคือ กํารเดินของคน และควํามคึกคักจะสัมพันธ์แบบผกผันกับระยะห่ํางจํากชุมชนพักอําศัย และจํานวนกระถําง ดอกไม้ ยิ่งใกล้ท่ีพักอําศัย จะย่ิงมีควํามคึกคักของคนเดิน (lowest pedestrian vibrancy) (ภําพประกอบ 5.11)
ภาพประกอบ 5.11 ตัวอย่างผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างความคึกคักในการเดินกับปริมาณของ flower pots Note: From: “The built environment of Japanese shopping streets as visual information on pedestrian vibrancy,”
โดย Giancarlo Carmelino and Toshihiro Hanazato, 2019, Frontiers of Architectural Research. 8(2019): 261–273.