Page 165 - Research Design
P. 165

                 การวิจัยเชิงประเมิน 145
 สวนท่ี3BuggyGardenขนําดเลก็ 1102ตํารํางฟตุ มมีํา้นง่ัยําวลอ้มรอบดว้ยหอ้งพกั ผู้ป่วยที่เข้ําถึงได้โดยตรง อยู่ติดกับโถงใหญ่ของอําคํารและที่ทํางํานของแพทย์และพยําบําล
ภาพประกอบ 6.8 ภาพสเก็ตช์ผังสวนแบบที่ 3 Buggy Garden
Note: From: “POE-of healing gardens in a pediatric cancer center,” by Sandra A. Sherman, James W. Varni, Roger S. Ulrich, and Vanessa L.
Malcarne, 2005. Landscape and Urban Planning, 73(2-3): 167-183.
การเก็บข้อมูล กํารสังเกตกํารณ์สวนละ 20 ชั่วโมง ใช้ผู้สังเกต 3 คนที่ได้รับกํารฝึก สังเกตก่อน ประเด็นกํารสังเกตคือ อํายุ กลุ่มคนใช้งําน (ผู้ป่วย ญําติ เจ้ําหน้ําท่ี) เชื้อชําติ กิจกรรมที่ทํา โดยแบ่งกํารบันทึกกํารสังเกตเป็น 24 กลุ่มกิจกรรม
สมมติฐํานตั้งต้นของผู้วิจัยก่อนประเมินกํารใช้งํานสวนทั้ง 3 แห่งคือ
(1) ขนําด ตําแหน่ง และองค์ประกอบภํายในสวน จะทําให้สวนถูกใช้งํานมํากน้อย ตํามลําดับคือ สวนที่ 1 สวนที่ 2 และสวนที่ 3 ตํามลําดับ
(2) ตําแหน่งและองค์ประกอบของสวน ทําให้แต่ละสวนมีกลุ่มคนใช้งํานที่ต่ํางกัน
(3) เด็กและผู้ใหญ่มีกํารใช้งํานสวนไม่เหมือนกัน
(4) คนแต่ละเชื้อชําติจะมีกิจกรรมในสวนแตกต่ํางกัน เช่น กิจกรรมทํางสังคม และ
กํารใช้สวนคนเดียว
 






















































































   163   164   165   166   167