Page 180 - Research Design
P. 180
160 การออกแบบการวิจัยสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง
กรณี 1 healing garden
กรณี 2 อาคารห้องสมุด
กรณี 3 ความเสี่ยงของต้นไม้ใหญ่
กรณี 4 พื้นที่ริมน้าในเมือง
การกาหนดเกณฑ์
- กํารวิจัยนี้เป็นกําร ประเมินเพ่ือวิเครําะห์ กํารใช้งําน ซึ่งเป็นกําร ประเมินสมรรถภําพ (performance POE) โดยกําหนดประเด็น กํารสังเกตเก่ียวกับ ลักษณะผู้ใช้ กิจกรรมที่ เกิดข้ึน กํารออกแบบ ตําแหน่งและ องค์ประกอบกํายภําพ ของสวน
- ตัดสินคุณค่ําโดย เปรียบเทียบผลกําร ประเมิน (ผลกําร สังเกตกํารณ์) กับ ควํามตั้งใจในกําร ออกแบบหรือแนวคิด กํารออกแบบของสวน มีกํารกําหนดสมมติฐําน ตํามวัตถุประสงค์กําร ออกแบบสวนเพื่อเป็น แนวทํางกํารประเมิน กํารใช้งํานสวนท้ัง
3 แห่ง
กํารสร้ํางแบบประเมิน สําหรับกํารประเมิน ห้องสมุดแห่งน้ีเกิดจําก กํารทบทวนเอกสําร เกี่ยวกับกํารออกแบบ ห้องสมุดที่ดีและ องค์ประกอบท่ีสําคัญของ ห้องสมุด
กํารประเมินควํามเส่ียง ของต้นไม้ใหญ่ ใช้เกณฑ์ ประเมินของบรรจง สมบูรณ์ชัย และปรัชมําศ ลัญชํานนท์ (2556) ด้วยระบบกํารให้คะแนน ระดับ 1 ถึง 5 ประกอบ ด้วย 5 องค์ประกอบของ ต้นไม้
กํารพัฒนําเกณฑ์และ ตัวบ่งชี้ด้วยกรอบกําร วิเครําะห์ในสํามมิติ คือ “เมือง-แม่น้ํา-ผู้คน” (“City-River-People”) ซึ่งมําจํากข้อมูลท่ีรวบรวม ได้จํากกํารระดม ควํามเห็นผู้เช่ียวชําญ