Page 209 - Research Design
P. 209

                 การเปลี่ยนประเด็นสนใจเป็นโจทย์วิจัย 189
 นอกจํากนี้คํากริยําท่ีใช้ในวัตถุประสงค์จะเป็น ตัวกําหนดวิธีกํารศึกษําในขั้นถัดไป เช่น กํารสํารวจ กํารเปรียบเทียบ กํารประเมิน ซึ่งมีวิธีกํารศึกษําที่ แตกต่ํางกัน
8.1.6 ตัวอย่างการกาหนดคาถามวิจัย
หวั ขอ้ กํารวจิ ยั : หอ้ งสมดุ เปน็ เสมอื นพนื้ ทท่ี ํา งําน ร่วมกัน: กํารทําควํามเข้ําใจแรงจูงใจและกํารรับรู้ อุปสรรคกํารเรียนรู้ของผู้ใช้งําน (Libraries as coworking spaces: Understanding user motivations and perceived barriers to social learning) โดย Mark Bilandzic and Marcus Foth (2013)
ควํามตั้งใจของกํารวิจัยน้ีต้องกํารแสดงให้เห็น วํา่ หอ้ งสมดุ เปน็ เสมอื นอกี สถํานทที่ จี่ ํา เปน็ สํา หรบั คนใน ยุคปัจจุบัน ท่ีไม่ใช่เป็นที่ท่ีเก็บหนังสือ จัดกิจกรรม กําร แสดง หรือจัดนิทรรศกํารต่ํางๆ เท่ําน้ัน กํารวิจัยนี้มี คําถํามสําคัญสองประกําร
(1) คําถํามเก่ียวกับผู้ใช้งําน
- ผใู้ ชง้ ํานหอ้ งสมดุ มกี ํารใชพ้ นื้ ทเ่ี พอื่ ทํา งําน
ร่วมกันอย่ํางไร
- พวกเขํามีประสบกํารณ์กํารเรียนรู้เชิง
สังคมที่เกิดจํากกํารทํางํานภํายในห้องสมุดอย่ํางไร
- อะไรที่ผู้ใช้งํานห้องสมุดคิดว่ําเป็น
อุปสรรคในกํารเกิดประสบกํารณ์กํารเรียนรู้ทํางสังคม (2) คําถํามเกี่ยวกับกํารออกแบบ
- กลยุทธ์กํารออกแบบที่เป็นนวัตกรรม พื้นที่เชิงเทคโนโลยีคืออะไรบ้ําง อะไรที่กระตุ้นและ ยับยั้งกํารเกิดประสบกํารณ์กํารเรียนรู้ทํางสังคมของ ผู้ใช้งําน
 คา ถามวจิ ยั ในงานหอ้ งสมดุ เปน็ เสมอื นพนื้ ทที่ า งานรว่ มกนั : การทา ความเขา้ ใจแรงจงู ใจ และการรับรู้อุปสรรคการเรียนรู้ของผู้ใช้งาน โดย Mark Bilandzic and Marcus Foth (2013) (1) How do library users make use of collaborative library spaces? How do they experience social learning as a result of working in the library? What are the
perceived challenges for social learning?
(2) Whatareadequatedesignstrategiesforsmartspacetechnologyinnovation,
such as ubiquitous computing and ambient media, to overcome the identified challenges and facilitate social learning among library users?


















































































   207   208   209   210   211