Page 273 - Research Design
P. 273

                 การวิเคราะห์ข้อมูล 253
 (2) กรณีข้อมูลเชิงปริมาณ กํารวิเครําะห์ข้อมูลเชิง เพียร์สัน (Pearson correlation) และไค-สแควร์ ปริมําณท่ีต้องกํารค้นหําควํามสัมพันธ์ (associative) (Chi-square) ได้ ระหว่ํางตัวแปรสํามํารถใช้สถิติวิเครําะห์สหสัมพันธ์
 ตัวอย่างการวิเคราะห์เพื่อหาความสัมพันธ์: กรณีข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการออกแบบพื้นที่ทางานกับการทางาน ในการวิจัย เรื่อง Designing Space to Support Knowledge Work ของ John Peponis และคณะ (2007) โดยใช้การวิเคราะห์เชิงพื้นที่ (spatial analysis) การวิเคราะห์เครือข่าย (network analysis) ในลักษณะการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่าง “ตาแหน่งของพื้นที่น่ังทางาน (workplace location)” กับ “การมีเครือข่าย (network) ของบุคคล” ในบริษัทออกแบบสื่อสารแห่งหนึ่ง ที่กาลังย้ายจากสานักงานเก่าไปสานักงานใหม่ (relocation) ที่ได้รับการออกแบบพื้นที่เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในการทางาน สานักงานนี้มีพนักงานประมาณ 50 คน การเก็บข้อมูลตัวแปรทั้ง สองเป็นข้อมูลทั้งก่อนและหลังการย้ายสานักงาน
ตัวแปรหลักทั้งสองถูกทาให้เป็นเชิงปริมาณนี้
(1) ตัวแปรตาแหน่งของพื้นที่นั่งทางาน เป็นการเก็บข้อมูลตาแหน่ง workstation แต่ละ บุคคลจากผังสานักงานมาวิเคราะห์ด้วยเครื่องมือ space syntax แล้วใช้ค่า integration ของ ตาแหน่งที่นั่งแต่ละคน ซึ่งบอกถึง ระดับ/ค่าการเข้าถึงพื้นที่ของตาแหน่งที่นั่งทางาน
(2) ตัวแปรการมีเครือข่าย (network) เป็นจานวนการมีปฏิสัมพันธ์ในเรื่องงาน (work) และเรื่องทั่วไป (social) โดยแบ่งปฏิสัมพันธ์เป็น 3 รูปแบบคือ
Hub values คือระดับการมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลอื่น (local measure)
Gatekeeper value คือ จานวนการติดต่อสื่อสาร (communication) เพื่อเป็น สื่อกลางให้คู่ปฏิสัมพันธ์อื่น (as a mediating channel)
Pulsekeeper value คือ จานวนการส่งข้อมูลให้กับผู้อื่น (information transfers) ทั้งที่ติดต่อโดยตรงและอ้อม

























































































   271   272   273   274   275