Page 22 - TV DIGITAL 050423
P. 22
20 ครึ่งทางทีวีดิจิทัล
online only หรืออย่างอื่น อนาคตยังจําาเป็น ต้องมี กสทช. หรือไม่ ในอนาคต กสทช. จะ กําากับดูแลไปถ้ง online และ OTT หรือเปล่า”
ก่อนที่จะไปถ้งจุดนัน ศาสตราจารย์ ดร.พูิรงรอง มีความเห็นว่าเราจะต้องหาคําา ตอบโดยเร็วใน 3 เรื่อง คือ 1. ศ้กษาแนวโน้ม ทางเทคโนโลยีดิสรัปชั่นและการปรับเปลี่ยน ไปสู่ออนไลน์ ซึ่่้งในอีก 7 - 8 ปี จะมีสัดส่วน การรับชมโทรทัศน์ภัาคพูืนดินเท่าไหร่ มีการ รับชมผู้่านดาวเทียมหรือเคเบิลเท่าไหร่ ผู้่าน IPTV หรือแพูลตฟอร์ม OTT เท่าไหร่ 2. ต้อง ดโู ครงสรา้ งอตุ สาหกรรม broadcasting ทเี่ ปน็ อยู่และแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของห่วงโซึ่ อุปทานให้รอบด้าน คําาน้งถ้งผูู้้มีส่วนได้ส่วน เสยี ทงั หมด และ 3.เรอื่ งทรพูั ยากร คลนื่ ความถี่ และเทคโนโลยีที่เก่ียวข้อง
หากมองตามปัจจัยด้านทรัพูยากรและ เทคโนโลยีแล้ว มีแนวโน้มที่จะต้องลดจําานวน ชอ่ งโทรทศั นภั์ าคพูนื ดนิ ลงในทางเทคนคิ แลว้ หากจะต้องปรับคุณ์ภัาพูการออกอากาศเป็น HD หรือ 4K ทังหมด ต้องใช้ bandwidth และ ทรพูั ยากรทเี่ พูมิ่ ขน้ อยแู่ ลว้ ซึ่ง่้ ทรพูั ยากรคลน่ื ความถกี่ เ็ ปน็ สงิ่ ทมี่ จี ําากดั เมอ่ื ตอ้ งใชเ้ ยอะขน้ ก็ สามารถรองรับจําานวนช่องได้น้อยลง
นอกจากนี ในเชิงนโยบาย สหภัาพู โทรคมนาคมระหว่างประเทศ (International
Telecommunication Union: ITU) มีแผู้นที่ จะจัดสรรคลื่นความถ่ีสําาหรับการใช้งานด้าน โทรคมนาคมเพู่ิมข้น เพู่ือรองรับการใช้งาน 5G หากช่วงคล่ืนท่ีจะใช้กับกิจการโทรทัศน์ ลดลง จําานวนช่องท่ีรองรับได้ก็จะลดลงตาม ไปอีกเช่นกัน
ปัจจุบัน ทีวีดิจิทัลใช้คล่ืน 470-694 MHz การออกอากาศใช้ช่องความถ่ีกว้างช่องละ 8 MHz ทําาใหม้ ชี อ่ งความถรี่ วม 28 ชอ่ ง เพูยี งพูอ สําาหรับ 5 MUX ซึ่ง้่ ยงั ใช้ไมเ่ ต็มความจุ เพูราะ แต่ละ MUX สามารถบรรจุช่องรายการได้ สูงสุดจําานวน 4 ช่อง HD หรือ 12 ช่อง SD แต่หากเปล่ียนระดับคุณ์ภัาพูการออกอากาศ เป็น 4K แล้ว แต่ละ MUX จะรองรับได้เพูียง 1 ช่อง 4K เท่านัน คือจะรองรับได้ 5 ช่อง 4K แตห่ ากอนาคตมกี ารหดคลน่ื ความถลี่ งเพูอ่ื นําา ยา่ น 600 MHz ไปใชส้ ําาหรบั โทรคมนาคม เชน่ 5G จะเหลือคลื่นเพูียงช่วง 470-614 MHz ซึ่่้ง หายไปประมาณ์ 35% และจะรองรับช่องทีวี 4K ได้เพูียง 3 ช่องเท่านัน
“การจะปรับลดและจัดสรรอย่างไร ก็ จะต้องพิจารณาปัจจัยต่างๆ ให้รอบด้าน เช่่น เทุคืโนโลยีและคืวามต้องการของผู้้้ บริโภคืทุีเปลียนแปลงไป” ศาสตราจารย์ ดร.พิรงรองกล่าวทุิงทุ้าย