Page 41 - Demo
P. 41

 ความสาคัญของการดารงขีดความสามารถการยุทธ์ สะเทินน้าสะเทินบก
เน่ืองจากสภาพภูมิรัฐศาสตร์ (Geopolitics) แถบ อินโด - แปซิฟิก ถูกล้อมรอบด้วยมหาสมุทรท่ีกว้างขวาง ทงั้ ยงั มเี กาะจา นวนมาก และชายฝง่ั ทที่ อดยาวหลายแหง่ ดังนั้นขีดความสามารถในการยุทธ์สะเทินน้าสะเทินบก จึงมีความจาเป็นอย่างมากในการปฏิบัติการทางทหาร บริเวณเขตที่เชื่อมต่อระหว่างทะเลและฝั่งหรือพ้ืนดิน การมีขีดความสามารถในการยุทธ์สะเทินน้าสะเทินบก ทาให้พื้นที่รอยต่อทางบกและทางทะเลเป็นพ้ืนท่ีในการ ดาเนินกลยุทธ์ที่ต่อเนื่องท่ีจะทาให้กาลังทหารได้เปรียบ จากการเคล่ือนท่ีได้อย่างอิสระและคล่องตัว
นาวิกโยธินสหรัฐอเมริกายกพลขึ้นบกที่อิโว จิมา
ปัจจุบันส่ิงที่น่าสนใจคือ องค์การสหประชาชาติ (UN) ได้ทาการศึกษาว่าตั้งแต่ปี ค.ศ.๒๐๐๒ - ค.ศ.๒๐๑๑ นั้น ประชาชนราว ๒.๒ ล้านคน ในพ้ืนท่ีแถบอินโด - แปซิฟิก ได้รับผลกระทบจากภัยธรรมชาติอย่างมาก ประชาชน ราว ๗๕๐,๐๐๐ คน ตอ้ งจบชวี ติ ลง ดงั นนั้ หากหนา้ ทห่ี ลกั ของรฐั คอื การปกปอ้ งชวี ติ และทรพั ยส์ นิ ของประชาชนแลว้ การปฏิบัติภารกิจการช่วยเหลือทางมนุษยธรรมและ การบรรเทาสาธารณภัยดังกล่าว จึงเป็นเรื่องท่ีรัฐต้อง ตอบสนองต่อประชาชน เช่น พายุไต้ฝุ่น แผ่นดินไหว หรือสึนามิ เกิดขึ้นในพ้ืนท่ีซ่ึงเป็นการยากอย่างยิ่งต่อ เจา้ หนา้ ทที่ ป่ี ฏบิ ตั งิ านจากเรอื หรอื อากาศยานจะเขา้ สพู่ นื้ ที่ เกิดเหตุนั้น จึงเป็นเหตุผลเพียงพอที่จะต้องพัฒนาหน่วย ที่มีขีดความสามารถและความคุ้นเคยในการปฏิบัติการ ทั้งบนบกและในทะเลข้ึนมา
การใช้เรือ LCAC (Landing Craft Air Cushion) ในภารกิจบรรเทาสาธารณภัย
อาจจะดูขัดแย้งกันอยู่บ้างหากจะบอกว่า การ ปฏิบัติการช่วยเหลือทางมนุษยธรรมและการบรรเทา สาธารณภัยน้ัน ไม่ได้ใช้แนวคิดในการปฏิบัติและขีด ความสามารถท่ีแตกต่างออกไปจากการปฏิบัติการยุทธ์ สะเทินน้าสะเทินบกเท่าใดนัก น่ันเพราะข้ันตอนต่าง ๆ จะประกอบไปด้วย การวางแผน การส่งกาลังบารุง การสถาปนา การติดต่อส่ือสาร การประสานงาน การ เคลื่อนย้ายกาลังทางทหาร โดยรวมมีความคล้ายคลึงกัน เกือบร้อยละ ๙๕
   ยุทธการบรรเทาสาธารณภัยในภูมิภาคใกล้เคียง
แมว้ า่ คา วา่ การปฏบิ ตั กิ ารยทุ ธส์ ะเทนิ นา้ สะเทนิ บก จะยดึ ตดิ กบั ภาพของการยกพลขนึ้ บกทนี่ อรม์ งั ดี อนิ ชอน หรอื จะเปน็ อโิ ว จมิ า ในอดตี แตใ่ นโลกสมยั ใหมภ่ าพการ ยกพลข้ึนบกดังกล่าวอาจเกิดขึ้นได้ค่อนข้างน้อย ในยุค
นาวิกศาสตร์ 40 ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๔
 

























































































   39   40   41   42   43