Page 49 - Demo
P. 49

 การค้นคว้าประวัติศาสตร์มี ๕ ขั้นตอนคือ๔ กาหนดเป้าหมาย รวบรวมหลักฐาน ประเมินคุณค่า วิพากษ์ตีความหาเจตนา และสังเคราะห์ข้อมูล ซ่ึงเดิมมี ๓ แนวทางคือ๕ การรวบรวมและแสดง เช่น ต้นกาเนิด การสร้างโลก “เผหลวง” อาหมบุราณจี ต้นกาเนิด อาริยธรรมเริ่มแรก “ตานานน้าเต้า” แนวทางท่ี ๒ คือ ศึกษาเชิงวัฒนธรรม เช่น พิธีกรรมทั่วไป พิธีเซ่นไหว้ผี เสี่ยงทายกระดูกไก่ เรียกขวัญ ปลงชู้ปลงสาว พิธีฝังศพ และพิธีกรรมด้านการปกครอง เช่น พิธีราชาภิเษก บูชา “จุ่มฟ้ารุ่งแสงเมือง” และแนวทางท่ี ๓ เปรียบเทียบ ชนเผ่าไทต่างพ้ืนท่ีเช่น “เร่ืองของชาติไทย” ท้ังนี้ควร ครอบคลุมการดารงอยู่ของรัฐคือ ประชาชน ผู้ปกครอง ดินแดน สังคม ศิลปะ และวัฒนธรรม
การค้นคว้าประวัติศาสตร์ไทยแบบเก่ายังหาคาตอบ ไม่ได้ว่าคนไทยมาจากไหนกันแน่
ดนัย ไชยโพธา ระบุถิ่นกาเนิดไทยไว้ ๖ แนวคิด ผเู้ขยี นสรปุ ได้๓ทฤษฎีคอื (๑)คนไทมาจากเทอื กเขาอลั ไต๖ สนับสนุนโดย คลิฟตัน ดอดด์ และขุนวิจิตรมาตรา มารวมกับไทในเสฉวนตามความคิดของลาคูเปอรี และ กรมพระยาดารงราชานุภาพ (๒) ไทอยู่ตอนใต้ของจีน ตั้งแต่กวางตุ้ง ยูนนาน และอัสสัม สนับสนุนโดย คอลูน
ปาร์กเกอร์ อีเบอร์ฮาร์ด โมต พระยาประกิจกรจักร ขจร สุขพานิช จิตร ภูมิศักดิ์ โดยอ้างภาษา วัฒนธรรม การสักตัว บ้านกั้นหลัน และการพายเรือ (๓) ไทมาจาก อินโดจีน สนับสนุนโดยเบเนดิกต์ เวลส์ สุด แสงวิเชียร ชิน อยู่ดี สมศักด์ิ พันธ์สมบุญ ประเวศ วะสี โดยอ้าง ภาษาไท - กะได การขุดพบโครงกระดูกในไทย รวมถึง ผลการวิจัยทางพันธุกรรมหมู่เลือด และฮีโมโกลบิน อี
หลักการค้นคว้าประวัติศาสตร์ด้วยการวิเคราะห์ ลักษณะทางพันธุกรรม
ในเซลมนุษย์มีโครโมโซม ๒๓ คู่ ซึ่งคู่ท้าย (X และ Y) ระบเุพศประกอบดว้ยยนีสส์ณัฐาน๔ตวัคอือะดนีนี(A) ไซโตซนี (C) ไธมนี (T) และกวั นนี (G) เรยี งตวั กนั วเิ คราะห์ ได้ ๓ แนวทางคอื ๗ Y - DNA ตามภาพท่ี ๒ ไมโทคอนเดรยี (mtDNA) และ Autosomal เพ่ือระบุญาติ (Family) แต่ในทางประวัติศาสตร์น้ัน สามารถสืบหาบรรพบุรุษ ด้วยการตรวจสอบ Y - DNA และ mtDNA
การตรวจบรรพบุรุษเพศชายแบบ Y - DNA หรือ โครโมโซมวาย
ใน ๑๐๐๐ เบส๘ นิวคลีโอไทด์เหมือนกัน ๙๙๙ ส่วน และปกติ ๙๕ % ของ Y - DNA จะไมค่ วบรวมกบั X - DNA
 ภําพท่ี ๒ นิวเคลียส กํารเรียงตัว SNP และกํารส่งต่อ Y - DNA จํากรุ่นพ่อสู่ลูกหลํานเพศชําย (Ancestry.com)
๔ มําลัย จันทร “ประวัติศําสตร์ในในอดีตจนถึงสุโขไทย” https://www.thaigoodview.com/, Retrieved Feb 27, 2021
๕ รณี เลิศเลื่อมใส, ฟ้ํา-ขวัญ-เมือง (กรุงเทพฯ: มูลนิธีวิถีทรรศน์, ๒๕๔๔), หน้ํา ๑๕ - ๒๘
๖ ดนัย ไชยโยธํา,ประวัติศําสตร์ไทยยุคก่อนประวัติศําสตร์ถึงสิ้นอําณําจักรสุโขทัย (กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์โอเดี้ยนสโตร์, ๒๕๔๖), หน้ํา ๒๒-๓๔ ๗ FamilyTreeDNA, https://familytreedna.com, Retrieved Feb 27, 2021.
๘ วิภู กุตะนันท์ และดําวรุ่ง กังวํานพงศ์ “โครโมโซมวํายกับกํารศึกษําวิวัฒนกํารของมนุษย์,” Thai J. Genet 7(2): 69-86 2014.
นาวิกศาสตร์ 48 ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๔
  




















































































   47   48   49   50   51