Page 67 - Demo
P. 67

 “ย่าคาแดง” และ “ย่าย้อย” สองวีรสตรีของไท ยุคก่อนส้ินแคว้นเยว่ (๓๓๔ BC) ที่นาทัพไทร่วมกับ กษัตริย์อู่เจียงโจมตีแคว้นฉู่ แต่ถูกแคว้นฉู่ซ้อนกล ส่งแม่ทัพรูปงามมาหลอกล่อสองวีรสตรีไท กว่าจะรู้ตัว ก็สายเกินไป ทัพไทแตกพ่าย ทัพฉู่โต้กลับ แคว้นเยว่ ล่มสลาย ย่าคาแดงยอมสละความรักพาไทล้ืออพยพมา อยู่เชียงรุ้ง (สิบสองจุไท) ส่วนย่าย้อยก็เช่นกัน พาคนไท อพยพไปญป่ี นุ่ บรเิ วณเกาะควิ ชู สอนการเกษตรชาวญป่ี นุ่ ทาเครื่องปั้นดินเผา สักตัว ตายไปถูกฝังเดี่ยวในถ้า ชาวญี่ปุ่นเรียกว่า Yayoi (ออกเสียงยาโยอิ)
เจาะเวลาหาอ้ายลาว เป็นเร่ืองอ้ายสาม (๑๓๕ - ๘๗ BC) สายเลือดนาค วงศ์สางดา ท่ีพยายามปกป้อง ชาวไทจากการรุกรานของฮั่นตะวันตก เพื่อเปิดเส้นทาง สายไหมผ่านอ้ายลาว โดยติดตามคณะทูตฮั่นไปขุด หนองม่ิงจาลองในเมืองฉางอาน พบรักกับลูกหลาน จักรพรรดิฮั่นอู่ตี้ รวมเดินทางผจญทางสายไหม (๑๑๙ - ๑๑๕ BC) ไปเมืองอู่ซุน กับคณะจางเชียน ร่วมรบใน สงครามนามเวียต ๑๑๒ BC แต่ด้วยความรักชาติ และ ชนเผ่าไทต้องยอมเสียสละความรัก ทาผิดต่อกองทัพ พาคนไทอพยพเข้าร่วมสงครามแถน (๑๐๙ BC) ถูก ขังคุกร่วมกับซือหม่า เชียน (๑๐๐ BC) ช่วยอ้ายลาวรบ กับฮ่ัน พาไทอพยพมาต้ังอาณาจักรสยามทั้งสองแห่ง สุดท้ายเสียชีวิตด้วยความเข้าใจผิด ตายเพราะนาค ริมฝั่งโขงตามประวัติไทยอาหม และเป็นต้นกาเนิด บั้งไฟพญานาคมาจนถึงทุกวันน้ี
สรุป
จากการค้นคว้าประวัติศาสตร์ไทยโดยอาศัย การวิเคราะห์ทางพันธุกรรมทั้งเพศชายแบบ Y - DNA และเพศหญิงแบบ mtDNA พบว่าคนไทโบราณร่วมกับ กลมุ่ ภาษาออสโตเอเชยี ตกิ ออสโตนเี ชยี จนี - ทเิ บต และ ม้ง - เมี่ยน อพยพมาจากอัฟริกาใน ๖๐,๐๐๐ ปีมาแล้ว ผ่านอินเดียเข้าสู่จีนเป็นหลักยืนยันดีเอ็นเอเพศหญิง แบบ B ทปี่ กั กงิ่ อายุ ๔๐,๐๐๐ ปี บางสว่ นใชเ้ สน้ ทางเหนอื ในลักษณะก้ามปู และกลุ่มท่ีอยู่ทางใต้ต่อมาเดินทาง
นาวิกศาสตร์ 66 ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๔
ขนึ้ เหนอื ประมาณ ๓๐,๐๐๐ ปี คนไทในจนี ประกอบดว้ ย เผ่าเสียน และเอี้ยน ที่ถูกกลืน จ้วงยวน หลอ ซ่ง และภู สว่ นหนงึ่ มาไทย แตส่ ว่ นใหญต่ กคา้ งในจนี และเพอ่ื นบา้ น ไทสร้างอาณาจักรสาง รัฐเยว่ อ้ายล้าว และน่านเจ้า ตอ่ มาถกู เผา่ เซยี่ ทเี่ ขา้ มาจากนอกดา่ นผลกั ดนั ทา สงคราม กันหลายครั้งตั้งแต่ยุคเส้ินหนง เอี้ยนตี สงครามสางถัง สงครามฉินปราบแดนใต้ สงครามกับฮั่นตะวันตก จนตอ้ งอพยพลงใตเ้ ปน็ ระยะจนถงึ สสู่ วุ รรณภมู ิ สอดคลอ้ ง กับการค้นคว้าแบบเดิม และตานาน พงศาวดารต่าง ๆ
ในการผลักดันให้เยาวชนชาวไทยหันมานาพา ประวัติศาสตร์ ด้วยยุทธศาสตร์ Soft Power ท้ังกลุ่ม เยาวชน และบุคคลทั่วไป ซึ่งคนไทนอกประเทศจะได้รับ ประโยชน์ด้วย โดยกลุ่มเยาวชนจะใช้แนวคิดการสร้าง เกมส์ และการ์ตูน ส่วนบุคคลท่ัวไป นาเสนอแบบละคร ซรี สี่ ์ และภาพยนตรอ์ งิ ประวตั ศิ าสตร์ และเนอื้ หาทจ่ี ะสอื่ กบั ชาวไทนอกประเทศจะเนน้ ความเปน็ ไท โดยมตี วั อยา่ ง คือ (๑) วีรสตรีไท “ฟ้าห้าว” (๒) สองวีรสตรีของไท “ย่าคาแดง” และ “ย่าย้อย” (๓) สามวีรสตรีแคว้นเยว่ “ไซซี และนู่มา” และ (๔) เจาะเวลาหาอ้ายลาว
-------------------------------------
บรรณานุกรม
หนังสือไทย
กัลญํา ลีลําลัย (๒๕๔๑) ประวัติกํารค้นคว้ําวัฒนธรรมชนชําติไท และ ศ.คุณบรรจบ พันธุเมธํา สกว. เจ้ําพญําธรรมําเต้ แปลโดยเจ้ําหงหยิน และ สมพงศ์ วิทยศักดิ์พันธ์ (๒๕๔๔) พงศําวดํารเมืองไท
เครือเมืองกูเมือง กรุงเทพฯ หจก. สํานักตรัสวิน (ซิลค์เวอมบุค)
ฉัตรทิพย์ นําถสุภํา และอุษํา โลหะกุล (๒๕๕๗) ชนชิตไทในประเทศจีน กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์สร้ํางสรรค์ ฉัตรทิพย์ นําถสุภํา และอุษํา เจริญโลหะกุล (๒๕๖๒) วัฒนธรรมไทโบรําณชนชําติจ้วง กับควํามเข้ําใจ
วัฒนธรรมไทย กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์สร้ํางสรรค์ จํากัด ชลธิรํา สัตยําวัฒนํา (๒๕๖๑) ด้ําแถน กําเนิดรัฐไท กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์อีศําน ชําญวิทย์ เกษตรศิริ (บรรณําธิกําร) กุลพัทธ์ มํานิตย์กุล และ คณะ (ผู้แปล) (๒๕๔๕) น่ี เสียมกุก “SYAM
KUK” (อ้ํางอิง Groslier, Bernard-Phillipe) กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงกํารตํารําสังคมศําสตร์ ธีรภําพ โลหิตกุล (๒๕๓๗) “คนไทในอุษําคเนย์” กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์ประพันสําสน์ จํากัด นพคุณ ตันติ กุล (๒๕๔๘) “ล้ํานนํา” ในมิติกําลเวลํา เชียงใหม่: สํานักพิมพ์ The knowledge center
ทวีป วรดิลก (๒๕๔๗) ประวัติศําสตร์จีน กรุงเทพฯ: หจก. เอมี่ เทรดดิ้ง บุญยงค์ เกศเทศ (๒๕๔๘) อรุณรุ่งฟ้ํา “ฉําน” เล่ําตํานํานคน “ไท”. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์หลักพิมพ์
ประทมุ ชมุ่ เพง็ พนั ธ์ (๒๕๔๖) สวุ รรณภมู ิ กรงุ เทพฯ: สํา นกั พมิ พ์ สวุ ริ ยิ ําสําสน์ พลําดศิ ยั สทิ ธิ ญั กจิ (๒๕๔๗) ประวัติศําสตร์ไทย กรุงเทพฯ: ฝ่ํายโรงพิมพ์ บริษัท ตถําตําพับลิเคชั่น จํากัด
ภัททิยํา ยิมเรวัต (๒๕๔๔) ประวัติศําสตร์สิบสองจุไท กรุงเทพฯ: สํานักพิมพ์สร้ํางสรรค์ จํากัด
มําลัย จันทร (๒๐๒๑) ประวัติศําสตร์ในในอดีตจนถึงสุโขไทย https://www.thaigoodview.com/
ยศ สันตสมบัติ (๒๕๔๓) หลักช้ําง กรุงเทพฯ: สํานักงํานมูลนิธิวิถีทรรศน์ & บริษัทอมรินทร์พร้ินติ้ง
แอนด์พับลิซซ่ิง จํากัด (มหําชน)
  













































































   65   66   67   68   69