Page 8 - Demo
P. 8
เกย่ี วกบั การใชท้ ะเลของประเทศไทยผเู้ ขยี นมขี อ้ สงั เกตเพม่ิ เตมิ ทส่ี ํา คญั คอื จกแหลง่ ขอ้ มลู ทว่ั ไปเปน็ ทน่ี ่ แปลกว่ ทั้งที่ไทยเป็นรัฐชยฝั่งมีขอบเขตดินแดนติดทะเลที่มีอณเขตประมณกว่สมแสนตรงกิโลเมตร ควมยวชยฝั่งรวมกันประมณ ๑,๕๐๐ ไมล์ทะเล มูลค่กรส่งออกสินค้เป็นลําดับที่ ๒๑ ของโลก ในจํานวนนี้ประมณร้อยละ ๙๕ ใช้กรขนส่งทงเรือ ท่เรือใหญ่ของไทยมีกรขนถ่ยตู้สินค้ ๘.๐๗ ล้นตู้ เป็นลําดับที่ ๒๑ ของโลก เมื่อปี ค.ศ.๒๐๑๘ และในปีนั้น (ไม่พิจรณสถนกรณ์โรคระบดโควิด-๑๙) อตุ สหกรรมกรทอ่ งเทยี่ วเปน็ อตุ สหกรรมทที่ ํา รยไดห้ ลกั ของประเทศ ซงึ่ ประมณครงึ่ เปน็ กรทอ่ งเทยี่ วทงทะเล กรประมงเคยทํา รยไดเ้ ปน็ ระดบั นํา ของโลก แตท่ ํา ไมโดยทวั่ ไปไทยไมถ่ กู จดั ว่ เปน็ ชตทิ ะเลอจมบี งครงั้ เท่ นนั้ สําหรับกรประชุมนนชติเกี่ยวกับทะเลที่เชิญผู้แทนไทยแต่ไม่มีกรให้ควมสําคัญใด ๆ ที่เป็นเช่นนี้ หกวิเคระห์คงได้คําตอบส่วนหนึ่งว่ ไทยไม่ตระหนักว่ตนเองเป็นชติทะเล แม้ว่จะใช้ทะเลมก แต่ประโยชน์จกกรใช้ทะเลอยู่ในมือชติอื่นมกกว่ ซึ่งหกสังเกตประเทศใกล้เคียง สิงคโปร์ และมเลเซีย ประกศชัด ให้ทรบทั่วกันนนแล้วว่ประเทศเขอยู่ได้ สร้งชติให้เจริญรุ่งเรืองได้เพระกรใช้ทะเล โดยเฉพะสิงคโปร์ถึงขนดมั่งคั่งระดับนําของโลกอินโดนีเซียและฟิลิปปินส์ได้ประกศนโยบยและวิสัยทัศน์ อย่งเด่นชัดว่เป็นชติทะเลจะใช้ประโยชน์จกทะเลในกรพัฒนประเทศ เวียดนมประกศว่จะเป็นชติทะเล ที่แข็งแกร่งให้ได้ก่อนปี ค.ศ.๒๐๓๐ จะเห็นว่ ท่ทีหรือกรประกศตลอดจนแนวควมคิดทป่ี รกฏทํา นองน้ี จกไทยไม่มีเลยหกต้องกรได้ประโยชน์จกกรใช้ทะเลท่ีมกโดยไม่ให้ตกอยู่ในมือของชติอ่ืนมกกว่ สิ่งแรกที่รัฐบลควรทํา คือ กรแสดงเจตจํานงโดยประกาศตัวว่าเป็นชาติทะเลและมีนโยบายในการใช้ทะเล ให้เกิดประโยชน์เป็นพลังอําานาจของชาติอย่างชัดเจน ในกรนี้เห็นควรแก้ไขเพิ่มเติมยุทธศาสตร์ชาติ โดยบรรจุนโยบายการใช้ทะเลเข้าไป และให้มีการจัดทําา “ยุทธศาสตร์ทะเล” รองรับยุทธศสตร์ชติที่แก้ไขใหม่
๒.๒ ยุทธศาสตร์ทะเล เป็นยุทธศสตร์ระดับรองจกยุทธศสตร์ชติ ใช้เป็นกรอบแนวทางในการพัฒนา และใช้พลังอําานาจของชาติเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับทะเล ทั้งในยามสงบและยามสงคราม เพื่อให้และดําารงไว้ซึ่ง วัตถุประสงค์ของชาติ ปัจจุบันเท่ที่ทรบประเทศไทยยังไม่มียุทธศาสตร์ทะเลเป็นกรเฉพะ ที่อจเกี่ยวข้องกับ กรอบแนวทงกรใชท้ ะเลของประเทศอยบู่ ้ งคงมแี ต่แผนความมนั่ คงแหง่ ชาตทิ างทะเล(พ.ศ.๒๕๕๘-พ.ศ.๒๕๖๔) และยทุ ธศสตรย์ อ่ ยตลอดจนแผนพฒั นทเ่ี กย่ี วขอ้ งแยกสว่ นแตล่ ะด้ นตมหนว่ ยงนต่ ง ๆ โดยแผนควมมน่ั คงดงั กล่ ว ที่ใช้อยู่ในปัจจุบันมีสระสําคัญดังนี้
นาวิกศาสตร์ 7 ปีที่ ๑๐๔ เล่มที่ ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๔