Page 27 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 27
A4-200
19th HA National Forum
อิทธิพล สมุทรทอง
พ่ีตูนได้ถามผมว่า “เคยมีคนวิ่งจากใต้สุดไปเหนือสุดไหม?” เท่าท่ีคุณป๊อกทราบไม่มี พี่ตูนมีแรงบันดาลใจ 2 อย่างคือ อยากทาเพื่อ โรงพยาบาล และอยากจะทาเพื่อตัวเอง พี่ตูนอยากเป็นคนแรกท่ีว่ิงจากจุดใต้สุดไปจุดเหนือสุดของเมืองไทย และหันมาถามว่าพี่ป๊อกอยากจะไป ด้วยกันไหม รู้สึกว่ามันเป็นเร่ืองท่ีย่ิงใหญ่มาก และเป็นเกียรติมากท่ีพ่ีตูนชวนเข้าร่วมโครงการ ในฐานะนักว่ิงผมคิดว่าไม่มีใครจัดโครงการว่ิงอย่างนี้ และได้ช่วยเหลือคนอื่นไปพร้อมๆ กันด้วย พี่ป๊อกจึงตอบว่า“รู้สึกเป็นเกียรติมากแต่ไม่อยากวิ่งข้างหน้า” แต่พี่ตูนบอกว่า “ไม่เป็นไรเราไปด้วยกัน”
แต่รัชวิน วงศ์วิริยะ (คุณก้อย) ไม่ได้ตกใจมาก เพราะเป็นเรื่องที่คาดเดาได้ เพราะปกติพี่ตูนวิ่งจากบ้านไปแกรมมี่ระยะทางประมาณ 20 กม. เป็นประจา คุณก้อยตอบพี่ตูนว่า “เอาสิ” เพราะเห็นว่าการท่ีพ่ีตูนเดินมาหาคุณโอ๊ต คุณเบล แปลว่าต้องการคน Support และสามารถพาเขา ไปถึงเป้าหมายท่ีต้องการ หน้าที่เราคือต้องสนับสนุนท้ังที่ใจระทึกมาก ในฐานะท่ีเป็นผู้หญิงและเป็นคนที่ไม่ชอบออกกาลังกาย จึงไม่รู้ว่าต้องทาอะไร กงั วลแตเ่ รอื่ งของตวั เอง เพราะเชอื่ มนั่ วา่ พตี่ นู ทา ไดอ้ ยแู่ ลว้ พตี่ นู มกี ารเตรยี มตวั วางแผนรว่ มกนั กบั คนในวงหลายสบิ ชวี ติ ทเี่ สมอื นครอบครวั เดยี วกนั ของพี่ตูน รับงาน โหมงานอย่างหนัก เพ่ือให้เวลากับพ่ีตูน 2 เดือน ในการทาเพื่อประเทศ
“ก้าวคร้ังใหม่” ในชื่อโครงการ “ก้าวคนละก้าวเพื่อ 11 โรงพยาบาลทั่วประเทศ” เบตง-แม่สาย 2,191 กม. 55 วัน โดยมีแรงบัลดาลใจ มาจากความต้องการที่จะอยากเล่าเรื่องและนา ความช่วยเหลือไปให้โรงพยาบาล จากการสา รวจปัญหาด้านสาธารณสุขภายในประเทศ พบว่ายังมีอีก หลายโรงพยาบาลที่ขาดแคลนอุปกรณ์ทางการแพทย์ หรือมีศักยภาพในการรองรับปริมาณคนไข้ไม่เพียงพอกับความต้องการ ดังนั้นเสียงจากหลาย ฝ่ายจึงร้องขอความช่วยเหลือมายังทีมงานก้าวคนละก้าวเพื่อให้การส่งความช่วยเหลือไปถึงแต่ละท้องที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทีมงานก้าวคนละก้าว จงึ เลอื กชว่ ยเหลอื ไปยงั โรงพยาบาลขนาดใหญท่ ตี่ อ้ งการความชว่ ยเหลอื จา นวน 11 แหง่ ทวั่ ประเทศ ตามภมู ภิ าคตา่ งๆ ทวั่ ประเทศ ตามจดุ ยทุ ธศาสตร์ ของกระทรวงสาธารณสุข โดยเป็นโรงพยาบาลที่มีความเชี่ยวชาญและสามารถรับผู้ป่วยท่ีโรงพยาบาลขนาดเล็กไม่สามารถรักษาได้ ทาให้ผู้ป่วย มีโอกาสเข้าถึงการรักษาที่ดีข้ึน โดยไม่ต้องเดินทางมารักษาในกรุงเทพฯ แต่ปัจจุบันโรงพยาบาลศูนย์ทั่วประเทศต้องรับภาระหนักในการรับผู้ป่วย หลายพันคนต่อวัน ทาให้อุปกรณ์ทางการแพทย์ไม่เพียงพอ และยังขาดทุนทรัพย์อีกเป็นจานวนมาก การช่วยเหลือโรงพยาบาลศูนย์จึงนับว่า เกิดประสิทธิภาพสูงสุด แต่ถ้าโรงพยาบาลใดมีปัญหาหากต้องการความช่วยเหลือสามารถเขียนโครงการ ส่งมาที่เพจก้าว ให้โครงการนี้เป็น จุดเร่ิมต้นของการหันกลับไปมองรอบๆ ใกล้ๆ ตัว คงมีใครหลายคนท่ีมองหันกลับไปที่โรงพยาบาลในบ้านเกิดตัวเองและอยากทาให้มันดีข้ึน เช่น คุณก้องห้วยไร่ ทาโครงการว่ิงที่สกลนครเพื่อหาเงินมาช่วยโรงพยาบาลสกลนคร หรือ คนชลบุรี วิ่งเพื่อหาเงินมาช่วยโรงพยาบาลชลบุรี เป็นต้น นี่อาจจะเป็นก้าวต่อไปที่คนช่วยกันสร้าง
ในการว่ิงคร้ังน้ี ในฐานะทีมแพทย์อะไรน่าเป็นห่วงที่สุด พ.อ.นพ.พลังสันต์ จงรักษ์ (หมอปัม) หน่ึงในคณะทีมแพทย์ท่ีมี พญ.สมิตดา สังขะโพธิ์ (หมอเมย์) เป็นหัวหน้าทีมแพทย์โครงการ คุณหมอเมย์กับคุณป๊อกมีหน้าที่คอยจัดการเร่ืองการเตรียมแพทย์ว่ิงตามหลังพี่ตูน เพื่อที่จะ สามารถเข้าถึงตัวพี่ตูนได้เร็วท่ีสุด หมอปัมมีหน้าที่รับผิดชอบทีมแพทย์ที่ว่ิงกับพี่ตูน และบทบาทแพทย์ประจาโรงพยาบาลพระมุงกุฎเกล้า มีหน้าที่ ช่วยประสานทีมแพทย์ระหว่างเส้นทางวิ่ง เบตง-เชียงราย ทาให้เกิดความร่วมมือของกระทรวงสาธารณสุขท่ัวประเทศ ในทางการแพทย์มีความ กังวลใจในเร่ืองกล้ามเนื้อ กระดูก ค่า CPK
เราเร่ิมว่ิงจากใต้สุดไปเหนือสุด ซึ่งเร่ิมจากพื้นที่สีแดง ตอนพี่โอ๊ตไปสารวจมันเงียบมาก คุณก้อยรัชวิน เล่าว่าตอนที่วิ่งออกจากจุดสตาร์ท ใต้สุดแดนสยามปากอุโมงค์เบตงมงคลฤทธิมันเป็นภาพท่ีสวยงามมาก ท่ีเห็นคนไทยมุสลิมและคนไทยพุทธ ทั้งเด็กเล็กและคนเฒ่าคนแก่คุณยาย ท่ีนั่งรถเข็น ออกมายืนเป็นกาลังใจให้พ่ีตูนทั้งๆ ที่ไม่รู้ว่าพี่ตูนจะมาเมื่อไหร่ เห็นทหารและประชาชนท่ีมีแต่รอยยิ้ม เห็นเด็กถือป้ายคาว่า “พี่ตูนสู้สู้” ยืนบนรถถัง ความกังวล ความกลัวต่างๆ ที่เคยได้ยิน มันหายไปจากใจและความทรงจา เป็นความรู้สึกที่บริสุทธิ์ ไม่รู้สึกว่าอยู่พ้ืนท่ีสีแดง เห็นทหาร แล้วอุ่นใจ เป็นภาพท่ีไม่เคยเกิดขึ้นมาหลายสิบปีแล้วท่ีสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ที่มีคนออกมาเต็มพ้ืนที่
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 27