Page 31 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 31

B1-200
19th HA National Forum
 “เราจะครองแผน่ ดนิ โดยธรรม เพอื่ ประโยชนส์ ขุ แหง่ มหาชนชาวสยาม” เปน็ พระปฐมบรมราชโองการในพระบาทสมเดจ็ พระปรมนิ ทรมหา ภูมิพลอดุลยเดช ที่ทรงถือปฏิบัติเรื่อยมานับตั้งแต่ทรงเสด็จขึ้นครองราชย์ ซ่ึงนับว่าเป็นพระราชโองการที่มีความงดงามอย่างหาที่สุดไม่ได้ เนื่องจาก พระองค์เองทรงทราบพระทัยดี ว่าการที่พระองค์ทรงข้ึนครองราชย์นั้น ไม่ได้ทรงมีอานาจใดๆ เลยทั้งสิ้น แต่ทรงอยู่ภายใต้กฎหมายเช่นเดียวกันกับ ประชาชนชาวไทยทุกคน คาว่า “ครอง” ในท่ีนี้ จึงหมายถึงการดารงรักษาไว้ซึ่งแผ่นดิน เช่นเดียวกันกับการครองตน ครองเรือน หรือครองสมณะเพศ ที่เราใช้กันอยู่ท่ัวไป โดยมีทศพิธราชธรรมเป็นหลักในการครอง ซึ่งในระยะแรกท่ีเสด็จขึ้นครองราชย์น้ัน พระองค์ทรงเริ่มจากการแสวงหาทุนทรัพย์ ด้วยพระองค์เอง เพื่อนามาใช้ในการดาเนินงานโครงการต่างๆ อันก่อให้เกิดประโยชน์สุขแก่ประชาชน
ตลอดระยะเวลากว่า 70 ปี ที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชทรงเสด็จขึ้นครองราชย์ การที่ได้เห็นพระเจ้าอยู่หัว ทรงเสดจ็ ไปทรงงานตามทตี่ า่ งๆ จงึ เปน็ ภาพทพ่ี สกนกิ รชาวไทยอยา่ งเราคนุ้ ตากนั เปน็ อยา่ งดี เพราะตลอดระยะเวลากวา่ 70 ปที ผี่ า่ นมา ทา่ นทรงอทุ ศิ พระวรกายทรงงานในพื้นที่ต่างจังหวัดถึง 8 เดือน ในแต่ละปี เพื่อเสด็จออกเยี่ยมและดูแลทุกข์สุขของประชาชนทั่วประเทศ ถึงแม้ว่าพ้ืนท่ีส่วนใหญ่ ที่ท่านทรงเสด็จไปนั้นจะเป็นพื้นที่ทุรกันดาร ท่ีมีความยากลาบากในการเข้าถึงเป็นอย่างมาก แต่กระนั้นท่านก็ไม่เคยปริพระโอษฐ์บ่นเลยแม้แต่น้อย อีกทั้งยังทรงมีพระอารมณ์ขันเรียกเส้นทางเหล่านั้นว่า “ทางดิสโก้” ซึ่งหมายถึง เส้นทางที่มีความขรุขระ เม่ือนารถผ่านเข้าไป คนที่นั่งอยู่ในรถจะ กระเด้งไปมาเสมือนเต้นดิสโก้ โดยบางครั้งการท่ีได้เห็นพระองค์ทรงงานหนักจนเป็นภาพชินตาอยู่ทุกค่าวัน จึงอาจทาให้เราขาดการตระหนักถึง บางส่ิงบางอย่างไป ว่าสิ่งท่ีพระองค์ทรงทาอยู่นั้น ทรงทาอะไร และทาเพื่อใคร
ประชาชนคนไทยทกุ คน ไมม่ ใี ครไมร่ กั พระองคท์ า่ น ทกุ คนลว้ นรกั เคารพ เทดิ ทนู และบชู าพระองคท์ า่ น เวลาไดเ้ หน็ ไดฟ้ งั พระองคท์ า่ นตรสั ก็รู้สึกเป็นสุข อิ่มเอม เบิกบานใจ แต่ทว่ามีน้อยคนนักที่จะมองเห็นในสิ่งท่ีท่านทา และได้ยินในสิ่งที่ท่านตรัส ซึ่งสิ่งท่ีท่านทาและสิ่งท่ีท่าน ตรัสนั้น คือสิ่งที่ท่านกาลังสอนเรา และสอนเรามาตลอดทั้งชีวิต ด้วยวิธีการต่างๆ อีกทั้งยังทรงทาให้ดูอย่างซ้าแล้วซ้าเล่าไม่รู้หน่าย ท่านทรงสอนให้ รู้จักพิจารณาอย่างรอบคอบถ่ีถ้วน (โยนิโสมนสิการ) ว่าชีวิตเรานั้นล้วนข้ึนอยู่กับแผ่นดินทั้งส้ิน ซึ่งมีมนุษย์อย่างเราอยู่ในฐานะผู้สร้างและผู้ทาลาย มนุษย์ทุกคนต้องหายใจเมื่อหายใจเอาออกซิเจน (Oxygen) เข้าไป ก็ต้องคลายเอาคาร์บอนไดออกไซด์ (Carbon Dioxide) ออกมา เมื่อรับประทาน อาหารเข้าไป ก็ต้องขับถ่ายของเสียออกมา รดลงแผ่นดินอีกเช่นกัน ไม่สามารถหลีกเล่ียงได้ เรื่องของการรักษาแผ่นดิน จึงเป็นเร่ืองของ ความรับผิดชอบ ซึ่งไม่ได้มีกฎใดกาหนดไว้ ว่าการเป็นประมุขน้ันต้องรับผิดชอบอย่างไรบ้าง แต่พระองค์ก็ทรงดูแลประเทศด้วยพระองค์เอง เพราะ การดูแลประเทศ คือ การดูแลประชาชน และประชาชนทุกชีวิตต่างอยู่ได้ด้วยดิน น้า ลม ไฟ ท้ังส้ิน “การดูแลอะไรจึงต้องดูแลให้ครบถ้วน” ส่วนในเร่ืองของการทางานน้ัน ท่านทรงสอนให้ดู 3 สิ่ง ได้แก่ อดีต ปัจจุบัน และอนาคต โดยทรงสอนให้จดจาเหตุการณ์เรื่องราวต่างๆ ในอดีต เพ่ือนามาพินิจพิเคราะห์ในปัจจุบัน และวางแผนอนาคต เพื่อเตรียมตัวต่อการเผชิญเหตุการณ์ต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้น ไม่ใช่ว่าเกิดเหตุขึ้นแล้วจึงค่อย ตามไปแก้ไขทีหลัง ซึ่งหากจะกล่าวถึงการสาธารณสุขน้ัน ก็อาจหมายความว่า จะต้องมีการป้องกัน และส่งเสริมสุขภาพที่ดี ไม่ใช่ให้การรักษา เพยี งอยา่ งเดยี ว แตจ่ ะตอ้ งมกี ารวางแผนหรอื เตรยี มโครงการตา่ งๆ ไวเ้ พอื่ รองรบั ดว้ ย ศาสตรข์ องพระองคท์ า่ น จงึ ไมใ่ ชอ่ ะไรทซี่ บั ซอ้ น แตเ่ ปน็ การมอง สู่ดินอยู่ตลอดเวลา ด้วยเหตุนี้พระองค์จึงทรงดูแลดิน น้า ลม ไฟ ท่ีเป็นต้นตอของชีวิต เพ่ือให้คงอยู่และสามารถหล่อเลี้ยงทุกชีวิตที่อยู่บนผืนแผ่นดิน นี้ได้ เพราะหากไม่ใส่ใจดูแลแล้วย่อมหมดไปได้ตามกาลเวลา
นักวิทยาศาสตร์คานวณไว้ว่า โลกเราสามารถแบกรับคนได้ประมาณ 1,500 ล้านคน ถึงจะอยู่กันได้อย่างสุขสบาย และยั่งยืน (เท่ากับว่า สามารถแบกรับประเทศจีนได้เพียงประเทศเดียว) ซึ่งปัจจุบันโลกเรามีคนอดอยากกว่า 800 ล้านคน กระจายอยู่ท่ัวโลก โดยประเทศไทยเป็นเพียง 1 ใน 10 ประเทศ ท่ีมีอาหารบริโภคอย่างเหลือกินเหลือใช้ และมีอาหารครบทุกประเภท ท้ังยังมีข้าวท่ีดีที่สุด มีผลไม้ท่ีดีที่สุด และยังประกอบอาหาร ได้เก่งที่สุด เพราะ “ทุกอย่างล้วนมีอยู่ในธรรมชาติแล้ว ขึ้นอยู่กับว่ามนุษย์จะมีสติปัญญาค้นเจอได้หรือไม่ ไม่ว่าจะเป็นนวัตกรรมหรืออะไรก็ตาม ต่างก็มาจากธรรมชาติทั้งน้ัน ท่ีมนุษย์ใช้สติปัญญานามาดัดแปลงให้เกิดขึ้น ไม่มีอะไรท่ีได้มาจากนอกโลก”
เมื่อ 65 ปีที่แล้ว ประเทศไทยมีจานวนประชากรท้ังสิ้นประมาณ 16 ล้านคน ปัจจุบันมีจานวน 66 ล้านคน เพิ่มขึ้นเกือบ 5 เท่าจากเดิม แต่ขณะเดียวกันแผ่นดินและทรัพยากรต่างๆ กลับมีจานวนลดน้อยลง เป็นเหตุให้เกิดสงครามแย่งชิงทรัพยากรกันท่ัวโลก เช่น สงครามแย่งชิงน้ามัน ระหว่างอิรักกับอัฟกานิสถาน โดยต่อไปมีแนวโน้มว่าอาจมีการแย่งชิงน้าเกิดขึ้นได้ ดังเช่น กรณีที่จีนทาการปิดซ่อมเขื่อน ส่งผลให้ระดับน้าในแม่น้าโขง ลดลงไปเป็นจานวนมาก ทั้งน้ีหากว่าจีนทาการปิดเข่ือนอย่างถาวร หลายประเทศ เช่น เวียดนาม ลาว เขมร ไทย จะต้องเดือดร้อนอย่างแน่นอน ซ่ึงสาเหตุเหล่าน้ีต่างเป็นปัจจัยท่ีเกิดจากความต้องการทรัพยากรทั้งสิ้น
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)   31



























































































   29   30   31   32   33