Page 487 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 487

B4-107
19th HA National Forum
  ศ.นพ.รุ่งโรจน์ พิทยศิริ
ทาไมต้อง Parkinson?
ปัจจุบัน เราพบจานวนผู้ป่วยด้วยโรคพาร์กินสันเพิ่มขึ้น และยังคงมีจานวนเพิ่มข้ึนอย่างต่อเน่ือง มักพบในผู้สูงอายุประมาณ 1-3% ของ จานวนผู้สูงอายุท้ังหมด หรือประมาณ 400,000 คน จากการศึกษาพบว่าผู้ป่วยโรคพาร์กินสัน มักอยู่ในพื้นท่ีที่มีการใช้ยาปราบศัตรูพืช สาเหตุท่ีก่อ ให้เกิดโรค อาจเกิดจากพันธุกรรม สิ่งแวดล้อม หรือการกระทบกระเทือนที่ศีรษะ
การคน้ หาปญั หาของเรอ่ื งใดๆ กต็ าม ตอ้ งพจิ ารณาในเรอื่ งนน้ั อยา่ งลกึ ซง้ึ เชน่ กรณขี องผปู้ ว่ ยโรคพารก์ นิ สนั เรามกั จะเหน็ อาการสน่ั แทจ้ รงิ แลว้ ปญั หาในผปู้ ว่ ยโรคพารก์ นิ สนั ไมใ่ ชเ่ พยี งแคต่ าเหน็ ยงั มปี ระเดน็ ปญั หาทซี่ อ่ นอยเู่ บอื้ งหลงั ตอ้ งมกี ารคน้ หาปญั หาอยา่ งรอบดา้ น เพอ่ื คน้ หาสง่ิ ทสี่ ง่ ผลโดยตรงต่อผู้ป่วย นาไปสู่แนวทางในการแก้ไขปัญหาต่อไป หลักพิจารณาที่จะนาไปสู่การค้นหานวัตกรรมทางการแพทย์ เช่น
- ค้นหาปัญหา (problem identified) ปัญหาท่ีเกิดขึ้นคืออะไร
- ค้นหาความต้องการของผู้ป่วย (meet the patient’s need) อะไรคือปัญหาที่แท้จริงของผู้ป่วย
- สร้างเครือข่ายและความร่วมมือ (networking and collaborating) บางคร้ังการทางานจาเป็นต้องได้รับความร่วมมือจากส่วนต่างๆ
เพ่ือให้การดาเนินงานนั้นประสบความสาเร็จ
- ระดมสมอง (brainstorm) เพื่อค้นหาแนวทางการดาเนินงานที่ดีท่ีสุด ซ่ึงอาจนาไปสู่เกิดการค้นพบใหม่ หรือนวัตกรรมใหม่
- มองข้ามความผิดพลาดเล็กน้อยที่ไม่ได้ส่งผลต่อการดาเนินงาน (eliminate glitches) และให้ความสาคัญกับการดาเนินงานเพื่อบรรลุ
เป้าหมายท่ีได้วางไว้
- สร้างต้นแบบ (protyping)
- ทดลองต้นแบบ (trials)
- ทดลองโดยผู้ใช้งานเพ่ือค้นหาความต้องการจากการใช้งานจริง (user design and research) - ทาให้มีความน่าสนใจ รู้สึกอยากที่จะใช้งาน (touch and feel)
3 นวัตกรรมเพ่ือ 3 ผู้ป่วย
เร่ืองท่ี 1 ผู้ป่วยโรคพาร์กินสันที่ได้รับการวินิจฉัยถูกต้อง ช้าไป 4 ปี จากภาวะอาการสั่น
ตาม Technology Roadmap ของโรคพารก์ นิ สนั จะมงุ่ เนน้ ไปทกี่ ารวนิ จิ ฉยั โรค เพราะการวนิ จิ ฉยั โรคพารก์ นิ สนั ไมใ่ ชเ่ รอื่ งงา่ ย แพทยท์ ว่ั ไป จะวินิจฉัยโรคได้ถูกต้อง 50-60% แพทย์อายุรกรรมระบบประสาทจะวินิจฉัยโรคได้ถูกต้องประมาณ 75% จากปัญหาดังกล่าว นาไปสู่การออกแบบ อุปกรณ์ในการวินิจฉัยโรคที่สามารถวัดการสั่นได้ สามารถใช้งานได้ในทุกที่ มีการส่งผ่านข้อมูลทาง Bluetooth เพื่อวิเคราะห์ได้ทันที อุปกรณ์ดัง กลา่ วสามารถเพมิ่ โอกาสในการวนิ จิ โรคไดถ้ กู ตอ้ ง และนอกจากนย้ี งั มตี น้ ทนุ ในการผลติ ทต่ี า่ กวา่ เมอื่ เปรยี บเทยี บกบั อปุ กรณท์ นี่ า เขา้ จากตา่ งประเทศ
ผู้ป่วยบางรายท่ีมีอาการสั่นมาก อาจต้องได้รับผ่าตัดกระตุ้นสมองส่วนลึก (Deep Brain Stimulation หรือ DBS) เป็นวิธีการรักษาด้วย การผ่าตัดฝังข้ัวไฟฟ้า ไปกระตุ้นสมองในส่วนที่เฉพาะกับการรักษาโรคพาร์กินสัน ซ่ึงมีความเส่ียงและค่าใช้จ่ายที่สูง จากการศึกษาเกี่ยวกับอาการส่ัน พบว่า ส่วนหน่ึงอาจเกิดจากปัญหาเรื่องสัญญาณของการส่ังการในสมอง จึงมีการออกแบบอุปกรณ์ในการปรับสัญญาณการส่ันของมือให้สัมพันธ์กับ สัญญานในสมอง เพื่อลดอาการสั่นของผู้ป่วย ควบคุมการทางานด้วยโทรศัพท์ จากการออกแบบและทดลองใช้อุปกรณ์ พบว่า อุปกรณ์ท่ีออกแบบ นนั้ สามารถลดอาการสน่ั ของผปู้ ว่ ยไดอ้ ยา่ งชดั เจน และถอื เปน็ การตอ่ ยอดนวตั กรรมจากการสรา้ งนวตั กรรมเพอื่ การตรวจวนิ จิ ฉยั จนนา ไปสกู่ ารคดิ คน้ นวัตกรรมเพื่อการรักษา
487   สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)














































































   485   486   487   488   489