Page 494 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 494

C1-107
19th HA National Forum
  ดร.ภัทรารัตน์ ตันนุกิจ
การนา Creativity มาดูแลสุขภาวะ ซ่ึงมีท่ีมาจากส่วนแรก ในอนาคต ปี พ.ศ.2568 ประเทศไทยก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ โรคเร้ือรังเพ่ิมข้ึน ซึ่งแปรผกผันกับอัตรากาลังของบุคลากรทางการแพทย์ ส่วนท่ีสองสังคมก้าวสู่ยุค IT ใช้เทคโนโลยีเข้ามามีส่วนร่วมในการรักษาพยาบาลมากขึ้น ไม่ว่าสภาพแวดล้อมที่อยู่รอบตัว เช่นภาวะโลกร้อน ขยะ น้าเสีย มลพิษในอากาศ ซ่ึงเป็นผลกระทบต่อภาวะสุขภาพท้ังผู้ใช้บริการและผู้รับบริการ ทั้งสิ้น ส่ิงสาคัญอีกอย่างหนึ่งคือนโยบายรัฐบาล ของการก้าวสู่ Thailand 4.0 ซ่ึงต้องอาศัยงานวิจัยและนวัตกรรม ต้องมีการบูรณาการโดยการใช้ ความคดิ สรา้ งสรรคเ์ พอื่ เกดิ การสง่ ตอ่ การบรกิ ารทมี่ คี ณุ ภาพ คณุ คา่ พยาบาลมกั มขี อ้ จา กดั ในการคดิ นวตั กรรมแบบเดมิ ๆ จงึ จา เปน็ ตอ้ งเปดิ โอกาสรบั ฟังความคิดเห็นของอ่ืน เชิญผู้อื่นมาร่วมกันคิด จึงเกิดแนวคิดในการทางานกับทีมอ่ืนเพ่ือเกิดนวัตกรรมสุขภาพ เกิดจากความคิดนวัตกรรมพยาบาล เดินมาถึงทางตัน การเริ่มทางานต้องมีการทางานร่วมกัน คิดร่วมกัน แต่ละบทบาทมาเชื่อมกัน
“ในการคิดค้น Creativity for Healthcare ร่วมกับเจ้าหน้าท่ีโรงพยาบาลกลาง โดยวิธีการฟังปัญหาและพาไปดูขยะในโรงพยาบาล เกิดจุดเริ่มต้นของการเปล่ียนแปลง”
รศ.ดร.สิงห์ อินทรชูโต
เปิดใจพูดคุยถึงแนวคิดของ จุดเร่ิมต้นที่เริ่มเห็นว่าเอาเศษวัสดุและขยะต่างๆ มาแปลงเป็นสินค้าท่ีขายได้ มีราคา รวมถึงส่งออกด้วย โรงพยาบาลก็เป็นส่วนหน่ึงที่เห็นข่าวแบบนี้และสงสัยว่ามีว่าจะสามารถนาขยะของโรงพยาบาลกลับมาใช้ได้หรือไม่ ระยะแรกๆ มีหลายโรงพยาบาล เลย ทั้งต่างจังหวัดและในกรุงเทพฯติดต่อเข้ามา เนื่องจากมี Scrap Lab (ศูนย์ปฏิบัติการออกแบบจากวัสดุเหลือใช้) ในใจ“ผมก็คิดว่าไม่น่าไหว” เพราะขยะจากโรงพยาบาลเป็นขยะอันตราย เป็นขยะติดเช้ือ ซึ่งช่วงเวลาต่อมาได้พบกับ ดร.ภัทรารัตน์ ตันนุกิจ พยาบาลวิชาชีพชานาญการพิเศษ ฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลกลาง ครั้งแรกที่เจอกัน เป็นกรรมการให้กับสานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ซ่ึง ดร.ภัทรารัตน์มีนวัตกรรม ส่งเข้ามาประกวดและผ่านรอบสุดท้าย จึงเริ่มจุดประกายความคิดเดิมเรื่องขยะในโรงพยาบาล และพูดคุยกันและขออนุญาตเข้าไปเยี่ยมโรงพยาบาล และขอใหเ้ ขาคดั แยกขยะดู พอคดั แยกเรยี บรอ้ ยกพ็ บวา่ 40% ของขยะโรงพยาบาลเปน็ ขยะไมต่ ดิ เชอื้ หากลองคา นวณดู เดอื นๆ หนงึ่ จะมขี ยะประมาณ 2-3 แสนช้ินที่ไม่ติดเชื้อ เมื่อเห็นแบบนั้น ก็คิดว่ามีโอกาสที่จะทาบางอย่างได้ จึงนาบรรจุภัณฑ์ที่ทางโรงพยาบาลใช้บรรจุเคร่ืองมือต่างๆ มาดูว่ามี คุณสมบัติอย่างไร ก็พบว่า วัสดุท่ีใช้เก่ียวกับการแพทย์จะมีความพิเศษ เช่น เหนียวพิเศษ หนาพิเศษ ทุกอย่างพิเศษหมด แต่กลับใช้เพียงครั้งเดียวทิ้ง เราเลยเริ่มเอาเศษวัสดุกลับมาพัฒนาเพื่อเป็นอุปกรณ์สาหรับนางพยาบาล คนไข้ และญาติใช้งาน ดังนี้
1.กระเป๋าชนิดต่างๆ จากถุงน้ายาล้างไต ซ่ึงถุงน้ายาล้างไตท่ีมีปริมาณทิ้งมาก ประมาณ 1 ล้านถุง/เดือน และศึกษาพบว่าถุงน้ายาล้างไต รองรับน้าหนักได้ดีเหนียวพิเศษ หนาพิเศษ นามาล้างและเคลือบจนเกิดสินค้าส่งออก เช่นกระเป๋าชนิดต่างๆ จากถุงน้ายาล้างไต
2. ผ้าห่อเครื่องมือแพทย์ (ผ้าสีฟ้า) ท่ีใช้ในโรงพยาบาล ซึ่งปกติจะใช้คร้ังเดียวทิ้งและมีปริมาณเป็นหมื่นช้ินต่อเดือนมาทาเป็นกระเป๋า ที่แจกให้แก่ผู้ป่วยที่มานอนพักฟื้นในโรงพยาบาล มีหนังสือคลายเครียดสาหรับผู้ป่วย โดยหนังสือนากระดาษรีไซเคิลมาตัดเป็นรูปร่างต่างๆ มีกาว และสีเทียน ใส่ไว้ในกล่อง หลังจากนั้นก็ให้เขาบรรเลงเลย แต่ละคนก็จะเขียนหรือตกแต่งสมุดของตัวเองตามอารมณ์ เพ่ือช่วยผ่อนคลายความเครียด เม่ือต้องนอนโรงพยาบาลนานๆ
3. ช้อนสาหรับผู้สูงอายุ เนื่องจาก มือผู้สูงอายุติดยึดและแข็ง ขยับไม่สะดวก ยกของน้าหนักมากไม่ได้ จึงเริ่มลองออกแบบและพัฒนาชุด ทานอาหารสาหรับคนสูงอายุขึ้น เพื่อให้จับถนัดและป้อนตัวเองได้ ไม่ต้องพ่ึงคนอื่น มีคุณลักษณะเบา เข้าปากง่าย และเราก็ตวงขนาดช้อน รวมทั้ง ช่ังน้าหนักเทียบระหว่างช้อนแต่ละแบบ ในหนึ่งคาปริมาณที่ตักควรจะเท่าไหร่จึงจะพอดีที่ไม่ทาให้เขาสาลัก ส่วนส้อมเราไม่ได้พัฒนาเพราะเขาไม่ใช้ ผู้สูงอายุไม่จ้ิม เพราะไม่มีแรงจิ้มแล้ว ลองสังเกตดู เขาจะใช้ช้อนอย่างเดียว ขณะที่ชาม เราต้องออกแบบให้เทไปด้านเดียว คือทุกอย่างที่ทาน พอทาน ไปเรอื่ ยๆ จะตอ้ งใหไ้ หลเทไปดา้ นเดยี ว เขาจะไดต้ กั อยา่ งเดยี วและตกั ไดง้ า่ ย ถา้ เปน็ จานทวั่ ไปทพ่ี นื้ ผวิ เรยี บเสมอกนั เมอ่ื อาหารกระจดั กระจายทว่ั จาน จะกลายเป็นว่าไปเพิ่มภาระในการตักอาหารทาน ซึ่งเขาทาไม่ได้แล้ว นอกจากน้ี
 สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน)   494
























































































   492   493   494   495   496