Page 514 - คุณค่า คุณภาพ คุณธรรม ถอดบทเรียนงานประชุมวิชาการ
P. 514
A4-108-109
19th HA National Forum
4. การตรวจสอบและบารุงรักษา
• กาหนดให้มีการตรวจคุณภาพอากาศประจาปีโดย เจ้าหน้าท่ีภายในและภายนอกหน่วยงาน
• กาหนดการล้างทาความสะอาดเครื่องปรับอากาศและเครื่องระบายอากาศประจาทุก 3 เดือน (ความเส่ียงสูง) ทุก 6 เดือน
(ความเส่ียงต่า)
• จดั ทา ตารางตรวจสอบความพรอ้ มใชป้ ระจา วนั เชน่ หอ้ งผา่ ตดั หอ้ งแยกผปู้ ว่ ยแพรก่ ระจายเชอื้ ทางอากาศ (Airborne Infection
Isolate Room : AIIR)
• กาหนดการ(แผน)เปล่ียนอุปกรณ์ตามอายุการใช้งาน
บทส่งท้าย
คณะกรรมการด้านสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยมีบทบาทสาคัญยิ่งในการชี้นา ให้ผู้บริหารได้เห็นความสาคัญ เพื่อให้การสนับสนุน ทรพั ยากรทงั้ คน เงนิ ของ ใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายในการจดั การระบบการระบายอากาศใหม้ คี ณุ ภาพไดม้ าตรฐาน และเหมาะสมกบั บรบิ ทของแตล่ ะองคก์ ร และเจ้าหน้าท่ีทุกคนโดยเฉพาะหน่วยงานที่มีความรับผิดชอบเป็นการเฉพาะ เช่น ฝ่ายวิศวกรรมซ่อมบารุงท่ีต้องประสานเชื่อมโยงกับหน่วยงานและ คณะกรรมการอ่ืนๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอก เช่น คณะกรรมการป้องกันและควบคุมการติดเชื้อ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ เป็นต้น เข้า ทา การสา รวจสถานทปี่ ระเมนิ ความเสย่ี ง และออกแบบหรอื ปรบั ปรงุ แกไ้ ขใหไ้ ดม้ าตรฐาน เชน่ การควบคมุ อณุ หภมู ิ และความชน้ื เพอื่ ปอ้ งกนั การเจรญิ เติบโตของเชื้อโรคหรือมิให้มีการแพร่กระจายเช้ือ อันจะนาไปสู่สุขภาพที่ดี และความสะดวกสบายของผู้อยู่อาศัยในอาคาร ทั้งในส่วนของบุคลากร ทางการแพทย์และสาธารณสุข และผู้มาใช้บริการ
ข้อค้นพบใหม่ทีไ่ด้จากเรือ่ง
การจัดการระบบการระบายอากาศให้มีคุณภาพ เป็นการบริหารความเสี่ยง มิใช่การบริหารอุบัติการณ์ ดังน้ัน จึงมีความจาเป็นอย่างยิ่งท่ี จะต้องประเมิน คุณภาพอากาศในอาคารโดยใช้หลักฐานทางวิทยาศาสตร์คือ เครื่องมือวัด และทาการวัดโดยผู้มีความรู้ความสามารถ เพื่อออกแบบ ระบบระบายอากาศให้เหมาะสมกับบริบทสถานพยาบาล และตามลักษณะความเสี่ยงท่ีประเมินได้ โดยยึดมาตรฐาน วสท. และหลักการควบคุมการ ติดเช้ือทางอากาศ
ปจัจัยแห่งความสาเร็จ
1. ผู้บริหารระดับสูงขององค์กรให้ความสาคัญ
2. คณะกรรมการด้านสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยและเป็น Inter professional teamwork
3. การสา รวจสถานทปี่ ระเมนิ ความเสยี่ ง และออกแบบหรอื ปรบั ปรงุ แกไ้ ข โดยองิ ตามมาตรฐาน เชน่ มาตรฐานการระบายอากาศเพอื่ คณุ ภาพ
อากาศภายในอาคารที่ยอมรับได้ (Standard for Ventilation for Acceptable Indoor Air Quality.มาตรฐาน วสท 032010-60) วิศวกรรมสถาน แห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
4. มีการจัดทาแผนการตรวจสอบและบารุงรักษา และตรวจวัดคุณภาพอากาศ และควบคุมกากับ วัดผลดาเนินการ และนามาปรับปรุง อย่างต่อเน่ืองให้เหมาะกับบริบทขององค์กร
5. มเี ครือข่าย เช่น สบส.เขต ซึ่งให้การสนบั สนุนทั้งเรื่องของการตรวจวัด เนื่องจากเคร่ืองมือมีความเฉพาะและราคาค่อนข้างแพง และเร่ือง ของที่ปรึกษาซึ่งมีความเช่ียวชาญระบบการระบายอากาศมากกว่าเจ้าหน้าท่ีของโรงพยาบาล
สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) 514