Page 11 - สกว
P. 11

 9
สมาชิกกลุมที่มีความตระหนักที่จะรวมตัวกันเพื่อแกไขปญหา โดยเกิด ความรูสึกวา หากสมาชิกแตละคนที่มีปญหาเหมือนกันหรือใกลเคียง กันมาพบเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ ความรู หรือความคิดเห็น หาก สมาชิกในกลุมเห็นตรงกันวาการแกปญหาแบบตางคนตางทําน้ันจะไม สามารถทําสําเร็จไปได แตกลับไปสรางปญหาอื่นตามมาได ดังนั้น สิ่ง สําคัญที่สุด คือ การที่สมาชิกเกิดจิตสํานึกรวมกันวาการทํางานเปน กลุมสามารถแกไขปญหาของตนได ซึ่งการที่สมาชิกในกลุม/ชุมชนจะ เกิดจิตสํานึกดังกลาวไดนั้น อาจเกิดจากการพูดคุยกัน จึงอยาก รวมมือกัน ซึ่งเมื่อเกิดการจัดตั้งเปนกลุมแลว กลุมจะมีกระบวนการ เพื่อเปนพลังใหกลุมสามารถขับเคลื่อนและดํารงอยูเพื่อแกไขปญหา ของสมาชิกไดอยางมีประสิทธิภาพ (มนตรี กรรพุมมาลย, 2547) ซึ่ง เครือขายทางสังคมเปนสัญญาณแสดงถึงความเขมแข็งและเปนทุนทาง สังคมดวย เมื่อขยายวงกวางออกไปจะนําไปสูการสะสมทุนของสังคม นั้น ๆ และสัมพันธภาพระหวางสมาชิกนี้เอง จะนําไปสูกระบวนการ เรียนรูและการปรับตัว ตลอดจนเกิดการทํากิจกรรมและการ เคลื่อนไหวทางสังคมตอไปได (อมรวิชช นาครทรรพ และคณะ, 2551) อนึ่ง การจัดการทรัพยากรโดยชุมชนเปนระบบความสัมพันธระหวาง คนกับทรัพยากรธรรมชาติในลุมน้ํา เปนลักษณะการใชประโยชนและ การพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน โดยใชระบบความเชื่อของชุมชนเปน พื้นฐานในการจัดความสัมพันธ และผสมผสานกับการปรับตัวเปน องคกรชุมชนเพื่อใหเกิดพลังและความชอบธรรมในการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติในลุมน้ํา (คณิต ธนูธรรมเจริญ, 2547)
สรุปองคประกอบหลักของเครือขายภาคประชาชนในการ อนุรักษทรัพยากรน้ํา มีดังนี้
9































































































   9   10   11   12   13