Page 52 - E-Book-Music
P. 52

 ชื่อ
 สัญลักษณ์
 เท่ํากับ
  ค่ําเทียบกับจํานวนของโน้ตตัวดํา
 โน้ตตัวกลมประจุด
   +
    6
 โน้ตตัวขาวประจุด
      +
     3
  โน้ตตัวดาประจุด
       +
    1 12
   46
                                ค่ําของตัวโน้ตเสียงยําว
การประจุดทาให้ตัวโน้ตมีค่ามากขึ้นเป็นครึ่งหนึ่งของค่าตัวโน้ตดังตัวอย่าง
หมายเหตุ (.) จุดข้างตัวโน้ตมีค่าเป็นครึ่งหนึ่งของโน้ตตัวหน้า
เครื่องหมํายกําหนดจังหวะ (Time Signature)
เครื่องหมายกาหนดจังหวะที่ลักษณะเป็นตัวเลข ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ เลขตัวบนเลข ตัวล่าง ตัวเลขสองตัวเขียนไว้หลังกุญแจ คล้ายลักษณะเลขเศษส่วน วางซ้อนกันอยู่บนบรรทัดห้า เส้น แต่ไม่มีเส้นขีดคั่นกลาง ซึ่งต่างจากเลขเศษส่วน เลขตัวบนจะบอกว่า 1 ห้องเพลงมีกี่จังหวะ ส่วนเลขตัวล่างบอกโน้ตที่ใช้เป็นเกณฑ์ 1 จังหวะ ตัวอย่างเช่น
เลข 4 ตัวบน คือ 1 ห้องเพลง มี 4 จังหวะ
เลข 4 ตัวล่าง คือ แทนค่าโน้ตตัวดา   = 1 จังหวะ
เลข 3 ตัวบน คือ 1 ห้องเพลง มี 3 จังหวะ
เลข 4 ตัวล่าง คือ แทนค่าโน้ตตัวดา   = 1 จังหวะ
เครื่องหมํายแปลงเสียง (Accidental)
เคร่ืองหมายแปลงเสียง หมายถึง เครื่องหมายที่ใช้บังคับให้เสียงสูงขึ้นหรือต่าลง ในที่นี้ ยกตัวอย่าง เครื่องหมายชาร์ปและเครื่องหมายแฟล็ต
เครื่องหมายชาร์ป (Sharp) หรือ   คือ เครื่องหมายที่ใช้แปลงเสียงโน้ตตัวให้เสียงสูงขึ้นครึ่ง เสียง ตัวอย่าง ซอลชาร์ป (G Sharp) เครื่องหมายชาร์ปจะอยู่ด้านหน้าของตัวโน้ต และตาแหน่ง ซอลชาร์ปที่อยู่บนคีย์บอร์ด
   








































































   50   51   52   53   54