Page 78 - E-Book-Music
P. 78

 72
                                    เครื่องหมํายโยงเสียง (Tie)
เครื่องหมายโยงเสียงเป็นเสียงโค้งที่ลากเชื่อมระหว่างตัวโน้ต 2 ตัวที่มีระดับเสียงเดียวกัน โนต้ ทถี่ กู โยงเสยี งจะเลน่ ครงั้ เดยี ว คอื เลน่ เฉพาะโนต้ ตวั แรกเทา่ นนั้ และจะถกู ลากเสยี งไปจนสนิ้ สดุ คา่ ของโนต้ ตวั สดุ ทา้ ยทเี่ ครอื่ งหมายโยงเสยี งลากไปถงึ และเครอื่ งหมายโยงเสยี งใชก้ บั ตวั โนต้ เทา่ นนั้ จะไม่ใช้กับตัวหยุด
ตัวอย่าง เครื่องหมายโยงเสียง
เครื่องหมํายกําหนดจังหวะ (Time Signature)
เครื่องหมายกาหนดจังหวะที่ลักษณะเป็นตัวเลข ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ เลขตัวบนเลข ตวั ลา่ ง ตวั เลขสองตวั เขยี นไวห้ ลงั กญุ แจ คลา้ ยลกั ษณะเลขเศษสว่ น วางซอ้ นกนั อยบู่ นบรรทดั หา้ เสน้ แต่ไม่มีเส้นขีดคั่นกลาง ซึ่งต่างจากเลขเศษส่วน เลขตัวบนจะบอกว่า 1 ห้องเพลงมีกี่จังหวะ ส่วน เลขตัวล่างบอกโน้ตที่ใช้เป็นเกณฑ์ 1 จังหวะ ตัวอย่างเช่น
เลข 4 ตัวบน คือ 1 ห้องเพลง มี 4 จังหวะ
เลข 4 ตัวล่าง คือ แทนค่าโน้ตตัวดา   = 1 จังหวะ
เลข 3 ตัวบน คือ 1 ห้องเพลง มี 3 จังหวะ
เลข 4 ตัวล่าง คือ แทนค่าโน้ตตัวดา   = 1 จังหวะ
เครื่องหมํายแปลงเสียง (Accidental)
เคร่ืองหมายแปลงเสียง หมายถึง เครื่องหมายที่ใช้บังคับให้เสียงสูงขึ้นหรือต่าลง ในที่นี้ ยกตัวอย่าง เครื่องหมายชาร์ปและเครื่องหมายแฟล็ต
เครื่องหมายชาร์ป (Sharp) หรือ คือ เครื่องหมายที่ใช้แปลงเสียงตัวโน้ตให้เสียง สูงขึ้นครึ่งเสียง
เครื่องหมายแฟล็ต (Flat) หรือ คือ เครื่องหมายที่ใช้แปลงเสียงตัวโน้ตให้เสียงลดลง ครึ่งเสียง
      




















































































   76   77   78   79   80