Page 13 - 813/65 LawManual2565
P. 13

    หากนัับตามปีปัจัจัุบันัซึ่ึงกําาหนัดให้มีการเปลียนัศักราช ณ วันัที 1 มกราคิม วันัที 17 มีนัาคิม พ.ศ. 2476 จัะหมายถึงวันัที 17 มีนัาคิม พ.ศ. 2477) ได้มีการก่อตังมหาวิทยาลัยวิชา ธรรมศาสตร์และการเมืองขึนั (เปิดดําาเนัินัการอย่างเป็นัทางการในัวันัที 27 มิถุนัายนั 2477) โดยการประกาศใช้ “พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง พุทธศักราช 2476” ซึ่ึงมีผลให้มีการโอนัคิณะนัิติศาสตร์ และรัฐศาสตร์ในัจัุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยตลอดจันัทรัพย์สินัและงบประมาณทังหมดของคิณะดังกล่าวมาขึนัต่อ มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง โดยในัการเรียนัการสอนัมีเพียงหลักส้ตรเดียว คิือหลักส้ตรธรรมศาสตรบัณฑิิตซึ่ึงเนั้นัการสอนัวิชากฎหมาย โดยสอนัคิวบคิ้่ไปกับวิชา ทางรัฐศาสตร์ และเศรษฐศาสตร์
ต่อมาในัช่วงเดือนัมีนัาคิม พ.ศ. 2492 หลังจัากเหตุการณ์กบฏิวังหลวง รัฐบาล ได้ยืนัข้อเสนัอสองประการให้ผ้้บริหารมหาวิทยาลัยดําาเนัินัการได้แก่
1) ให้เปลียนัชือมหาวิทยาลัย โดยขอให้ตัดคิําาว่า “การเมือง” ออก
2) ให้ดําาเนัินัการจััดการศึกษาของมหาวิทยาลัยออกเป็นัคิณะต่าง ๆ ข้อเสนัอทังสองได้รับการตอบรับจัากผ้้บริหารมหาวิทยาลัย โดยในัส่วนัของ
การดําาเนัินัการเปลียนัชือมหาวิทยาลัยนัันัใช้เวลาดําาเนัินัการอย้่ 3 ปี มหาวิทยาลัย วิชาธรรมศาสตร์และการเมือง (University of Moral and Political Sciences) จัึงกลายมาเป็นั มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (Thammasat University) เช่นัทุกวันันัี
สําาหรับข้อเสนัอทีให้มีการดําาเนัินัการจััดการศึกษาของมหาวิทยาลัย โดยแบ่งออกเป็นั คิณะต่าง ๆ นัันัก็ได้รับการตอบสนัองทีรวดเร็วเช่นัเดียวกันั ในัวันัที 14 มิถุนัายนั พ.ศ. 2492 ผ้้บริหารได้ออกประกาศกําาหนัดให้มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองจััดการศึกษา โดยแยกออกเป็นัสีคิณะได้แก่ 1) คิณะนัิติศาสตร์ 2) คิณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี 3) คิณะรัฐศาสตร์ และ 4) คิณะเศรษฐศาสตร์ ส่วนัหลักส้ตรธรรมศาสตรบัณฑิิตเดิม ก็ให้ทยอยปิดไปทีละปี และปิดหลักส้ตรอย่างสมบ้รณ์ในัปี พ.ศ. 2496 จัึงอาจักล่าวได้ว่า คิณะนัิติศาสตร์ ได้ก่อตังขึนัแล้วนัับแต่วันัที 14 มิถุนัายนั พ.ศ. 2492 นัันัเป็นัต้นัมา ส่วนันัักศึกษาในัหลักส้ตรธรรมศาสตรบัณฑิิตเดิมทียังศึกษาไม่สําาเร็จัภายในัปี พ.ศ. 2496 ก็ให้โอนัย้ายมาเรียนัทีคิณะนัิติศาสตร์แทนั
  คู่มือนักศึกษา คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ปีการศึกษา 2565 13




























































































   11   12   13   14   15