Page 13 - THAMMASAT PRINTING HOUSE
P. 13

                บทความรีวิวสุกี้จินดา (Chinda Hotpot) ความอรอยวิ่งเสิรฟบนสายพาน สุกี้สไตลจีนในหมอสวนตัว #สรางใหมไดมา
3.2 วิธีการวิเคราะห
คัดเลือกบทความรีวิวในประเภทที่แตกตางกัน 3 ประเภท ไดแก บทความรีวิวภาพยนตร บทความรีวิวซีรีส และบทความรีวิวอาหาร จากนั้น วิเคราะหวัจนกรรมที่ปรากฏในแตละบทความตามแนวคิดเรื่องวัจนกรรม 5 กลุม และเงื่อนไขการวิเคราะหวัจนกรรมของ John. R. Searle (อางถึงใน จันทิมา อังคพณิชกิจ, 2562) และสรุปและอภิปรายผล เพื่อแสดงใหเห็นวา บทความรีวิวแตละประเภทมีเจตนาในการสื่อสารเปนอยางไร มีวัจนกรรม อะไรบางท่ีเปนจุดเดนของบทความแตละประเภท
4. ทบทวนวรรณกรรมหรืือเอกสารงานวจิิ ััยท่ีี่เกี่่ียวของ ทฤษฎีวัจนกรรมเปนการจัดกลุมของวัตถุประสงคในการสื่อสาร
อยางเปนระบบและศึกษาวาความตั้งในใจการสื่อสารเหลานั้นถูกใสรหัส อยางไรในบริบทที่แตกตางกัน นักปรัชญาทางการสื่อสารที่ศึกษาเกี่ยวกับ ทฤษฎีวัจนกรรม คือ John R. Searle (1969) แบงวัจนกรรมออกเปน 5 ประเภท (กุสุมา สุมมาตร, 2564, น. 5) ไดแก
1. กลุมการบอกกลาว (Representatives) คือ ถอยคําของผูพูดที่มี จุดประสงคเพื่อบอกเลาขอมูลตาง ๆ แกผูฟง เชน การพูด การยืนยัน การสรุป การโออวด เปนตน
2. กลุมการกลาวชี้นํา (Directives) เปนความพยายามที่ผูพูด ตองการใหผูฟงทําอะไรสักอยาง ซึ่งผูพูดจะตองใชการเชื้อเชิญ การขอรอง การเสนอแนะ เปนตน
5



























































































   11   12   13   14   15