Page 24 - THAMMASAT PRINTING HOUSE
P. 24

                เงื่อนไขการเตรียมการ คือ ผูพูดเสนอขอมูลที่เปนขอเท็จจริง ซึ่งขอมูลน้ัน อาจเปนความตั้งใจ ความประสงค หรือเปนประสบการณของผูพูด โดยที่ ผูพูดเชื่อวาผูฟงยังไมทราบขอมูลนั้น กลาวคือผูเขียนตองการบอกขอมูลท่ี ตนเองไดเดินทางไปรานสุกี้จินดา ซึ่งเปนความตองการของผูเขียนที่จะ ถายทอดประสบการณน้ัน เงื่อนไขความจริงใจ คือ ผูพูดเช่ือในความเปนจริง ของขอความนี้ เงื่อนไขความครบถวน คือ ผูพูดพยายามที่จะบอกผูฟง ใหทราบเรื่องดังกลาว เมื่อพิจารณาแลวพบวาเงื่อนไขมีความสอดคลองกัน จึงกลาวไดวาขอความเหลานั้นเปนวัจนกรรมการกลาวหรือบอกเลา
5.2 กลุมการกลาวช้ีนํา
ผูศึกษาไดพบวัจนกรรมกลุมกลาวชี้นําในบทความรีวิวทั้ง 3 บทความ ไดแก บทความรีวิวภาพยนตร The Worst Person in the World, บทความรีวิวซีรีส Wednesday และบทความรีวิวสุกี้จินดา โดย ในกลุมการกลาวชี้นําตามแนวคิดของ Searle (1969) พบวัจนกรรม ยอย 2 ประเภท ไดแก วัจนกรรมการแนะนําและวัจนกรรมการเชิญชวน
5.2.1 วัจนกรรมการแนะนํา
ผูศึกษาประยุกตใชวัจนกรรมการแนะนําของ Searle (1969) ซึ่ง กลาววาถอยคําที่เปนวัจนกรรมการแนะนําตองเปนไปตามเงื่อนไข ตอไปน้ี
เง่ือนไขเน้ือความ : เนื้อความใด ๆ ท่ีเปนการกระทําในอนาคตของ ผูฟง
เงื่อนไขเตรียมการ : ผูพูดเช่ือวาการกระทําดังกลาวใหประโยชนแก ผูฟงและผูฟงตองไมต้ังใจกระทําในส่ิงที่ผูพูดจะกลาวอยูแลว
เงื่อนไขความจริงใจ : ผูพูดเชื่อวาผูฟงจะไดรับผลประโยชนจาก การกระทําน้ี
16


























































































   22   23   24   25   26