Page 27 - THAMMASAT PRINTING HOUSE
P. 27

                ลองทาน” ซึ่งอาจตีความไดวายังไมเคยรับประทานมากอน การลองทานสุก้ี สไตลจีนจึงถือเปนการกระทําของผูอานในอนาคต เงื่อนไขที่สอง ไดแก เงื่อนไขเตรียมการ คือการเช่ือวา ผูอานนั้นสามารถกระทําสิ่งนั้น การกระทํา สิ่งนั้นในที่นี้หมายถึงการ “ลองทาน” หรือ “ลิ้มลอง” สุกี้สไตลจีน เงื่อนไข ตอมาคือ เงื่อนไขความจริงใจ กลาวคือการที่ผูพูดตองการใหผูฟงกระทํา สิ่งใดสิ่งหนึ่งรวมกับผูพูดหรือกระทําในสิ่งเดียวกับผูพูด ซึ่งจากตัวอยาง บทความขางตน การกระทําดังกลาวจึงหมายถึง การทานสุกี้สไตลจีน ที่ผูเขียนเชิญชวนใหผูอานไดลองทานเชนเดียวกับผูเขียนที่ไดลิ้มลองสุก้ี สไตลจีนไปกอนแลว และเงื่อนไขสุดทายคือเงื่อนไขความครบถวน คือการท่ี ผูพูดมีความพยายามที่จะทําใหผูฟงกระทําในสิ่งที่ผูพูดตองการ กลาวคือ ผูเขียนรีวิวมีเจตนาท่ีจะเชิญชวนหรือทําใหผ ูอานไดลองรับประทานสุก้ีสไตล จีน เมื่อวิเคราะหขอความดังกลาวและพบวามีความสอดคลองตามเงื่อนไข ทุกประการ ขอความดังกลาวจึงจัดเปนวัจนกรรมการเชิญชวน
5.3 กลุมการกลาวแสดงความรูสึก
ผูศึกษาไดพบวัจนกรรมกลุมกลาวแสดงออกในบทความรีวิวทั้ง 3 บทความ ไดแก บทความรีวิวภาพยนตร The Worst Person in the World, บทความรีวิวซีรีส Wednesday และบทความรีวิวสุกี้จินดา โดยใน กลุมการกลาวแสดงออกตามแนวคิดของ Searle (1969) พบวัจนกรรม ยอย 3 ประเภท ไดแก วัจนกรรมการแสดงความคิดเห็น วัจนกรรมการชื่นชม และวัจนกรรมการเตือน
19































































































   25   26   27   28   29