Page 62 - THAMMASAT PRINTING HOUSE
P. 62

                นอกจากเนื้อหาแลวเมื่อพิจารณาถึงเทคนิคภาพยนตรก็นับไดวา Little Forest เปนหนังเร่ืองหน่ึงแตเลือกที่จะเลาดวยวิธีท่ีแตกตาง
(บทวิจารณภาพยนตร Little Forest: ปรุงรสจนเขาใจ, 2558)
จากตัวอยางขางตนพบวาผูเขียนใชคําวา “นาสนใจ” “แตกตาง” เพื่อแสดงความคิดเห็นเชิงบวกตอภาพยนตร เปนที่นาสังเกตวา ความ นาสนใจและความแตกตางมีความหมายเปนคุณลักษณะเชิงบวกเมื่อกลาว วิจารณภาพยนตร ในทางกลับกันการใสคําวา “ไม” หรือ “ลด...ลง” เพ่ิม ในคําเดิมกลับทําใหความหมายเปลี่ยนไปในเชิงลบ
5.4 กลวิธีทางวัจนปฏิบัติศาสตรและวาทกรรม
กลวิธีทางวัจนปฏิบัติศาสตรและวาทกรรม คือ ความรูดาน สถานการณและสังคมทางวัฒนธรรม และการสื่อนัยวามีขอความอื่นหรือ มีเหตุการณบางอยางเกิดข้ึนมากอนหนาแลว ลักษณะท่ีปรากฏมีดังน้ี
5.4.1 การใชมูลบท
มูลบทเปนกลวิธีทางภาษาที่สื่อใหเขาใจวามีตัวบทอื่นหรือขอมูล อื่นเกิดขึ้นมากอนแลว จันทิมา อังคพณิชกิจ (2562) ไดอางถึงคําอธิบาย ของแฟรเคลาฟวา มูลบทแบงออกเปน 3 ประเภท ไดแก มูลบทที่บอกถึง สิ่งที่มีอยู มูลบทที่บอกอดีต ปจจุบัน และอนาคต และมูลบทที่บอกการตีคา ในสิ่งที่ดีที่พึงปรารถนา ซึ่งมีรูปภาษาที่สื่อใหเกิดการตีความเรียกวา “ตัวบงชี้มูลบท” (presupposition triggers) ดังตัวอยางของบทวิจารณ ภาพยนตรพบการบงช้ีมูลบท ดังนี้
54
 


























































































   60   61   62   63   64