Page 95 - THAMMASAT PRINTING HOUSE
P. 95

                กลวธิิ ทีี างภาษาและการสอืื่่ ความหมาย ในเพลงหาเสยีี งเลอืื กตงัั้้ พ.ศ. 2566
ธนพร ถนอมพุดซา, นฤชา อุนใจด,ี สุภาวดี แจม ใส, ปวริศา เศวตศลิ า และปาณิสรา อินทรครรชิต
1. บทนํา : การเมืืองผานบทเพลง (Introduction)
เพลง ถือเปน “สื่อ” ที่สรางความบันเทิงและอยูคูกับมนุษยมาอยาง
ชานาน เนื่องจากเปนสื่อที่สรางอารมณที่หลากหลาย อีกทั้งยังมีอิทธิพล ตอจิตใจของผูฟง ในปจจุบันจึงมีการนําเพลงมาประยุกตใชกับหลากหลาย วงการ ไมวาจะเปนวงการละคร โฆษณา รวมไปถึงวงการ “การเมือง” ดวย เชนเดียวกัน
การใชเพลงในวงการการเมืองนั้นไดมีการนํามาเปนสวนหนึ่ง ในการเรียกคะแนนเสียงจากประชาชน โดยปรากฏในประเทศไทยมาเปน เวลานาน จุดเดนของการใชเพลงเปนเครื่องมือในการหาเสียง คือ ชวยให ประชาชนจดจํานโยบายไดงายยิ่งขึ้น เนื่องจากมีพรรคการเมืองจํานวนมาก ที่เขามามีบทบาทในการเลือกตั้ง นโยบายของแตละพรรคจึงมีจํานวนมาก ไมแพกัน การสรางความนาจดจําใหกับพรรคของตนจึงเปนสิ่งสําคัญ นอกจากนี้เพลงยังสามารถสรางความสนุกสนาน และสรางภาพลักษณของ พรรคการเมืองและผูลงสมัครตําแหนงตาง ๆ หรือตัวตนของนายกรัฐมนตรี ใหเปนไปตามแนวทางที่พรรคการเมืองน้ัน ๆ ตองการได อีกทั้งการนําเพลง ที่สนุกสนานมาใชในการหาเสียงจะชวยใหวงการการเมืองดูไมเครงเครียด เกินสมควร ในบางครั้งยังงายตอการเขาถึงประชาชนและงายตอการสราง
87
 



























































































   93   94   95   96   97