Page 30 - หนังสือประชุมวิชาการสถานบำบัดยาเสพติด ครั้งที่ 24
P. 30
บทคัดย่อ
ความสำคัญ
คุณภาพชีวิตอำเภอน้ำพอง (พชอ.น้ำพอง) จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น
28 28
การพัฒนารูปแบบการนำกลุ่มเสี่ยงยาเสพติดเข้าสู่ระบบบำบัดรักษาของภาคี 5 เสาหลัก
ผ่านกลไกคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิต (พชอ.) อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น
ชาญณรงค์ อรรคบุตร
สำนักงานสาธารณสุขอำเภอน้ำพอง
จังหวัดขอนแก่น
จังหวัดขอนแก่นเป็น 1 ใน 25 จังหวัดเป้าหมาย ให้เร่งรัดแก้ไขปัญหายาเสพติด 5 เสาหลัก อำเภอน้ำพอง
เข้ารับการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อขับเคลื่อน CBTx ชุมชนล้อมรักษ์ จังหวัดขอนแก่น มีเป้าหมาย Re X-ray
ผู้เสพ 9,922 คน อำเภอน้ำพอง 659 คน ข้อมูลบำบัดรักษา บสต. ปี พ.ศ. 2564 - 2566 อำเภอน้ำพอง
มีจำนวน 345 คน, 91 คน และ 266 คน ตามลำดับ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล (รพ.สต.) ถ่ายโอนสังกัด
องค์การบริหารส่วนจังหวัดขอนแก่น (อบจ.) ทั้งหมด 248 แห่ง (น้ำพอง 18 แห่ง) นายอำเภอน้ำพอง
แจ้งนโยบาย Re X-ray ผู้เสพ 659 คน สาธารณสุขอำเภอน้ำพอง ในฐานะเลขานุการคณะกรรมการพัฒนา
วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาสภาพปัญหาในการนำกลุ่มเสี่ยงยาเสพติดเข้าสู่ระบบบำบัดรักษา
2. เพื่อพัฒนารูปแบบการนำกลุ่มเสี่ยงยาเสพติดเข้าสู่ระบบบำบัดรักษา
วิธีการศึกษา
โดยใช้แนวคิดของ Kemmis & McTaggart (1988) ระยะเวลาดำเนินการ 1 มกราคม พ.ศ. 2567
ถึง 30 กันยายน พ.ศ. 2567 ระยะที่ 1 ประชุม พชอ.น้ำพอง กำหนดยาเสพติดเป็นนโยบายเร่งด่วน ประชุม 2
ตำบลเป้าหมายชุมชนล้อมรักษ์ เพื่อศึกษาสภาพปัญหาการนำกลุ่มเสี่ยงยาเสพติดเข้าสู่ระบบบำบัดรักษา โดยชุด
ปฏิบัติการอำเภอได้ผู้ป่วย 5 ราย ข้อเสนอจากตำบล คือ ให้ปลัดอำเภอผู้รับผิดชอบตำบล และสายตรวจตำบล
ร่วมเป็นชุดปฏิบัติการตำบล ระยะที่ 2 ประชุมวางแผนกับนายอำเภอน้ำพอง ได้แนวทางประชุม แต่งตั้งชุด
ปฏิบัติการตำบล (5 เสาหลัก) ประกอบด้วย 1) ปลัดอำเภอผู้รับผิดชอบตำบล 2) สายตรวจตำบล 3) ผอ.รพ.สต.
4) อปท. และ 5) ผู้นำชุมชน
ผลการศึกษา
Re X-ray ผู้เสพจำนวน 659 คน พบว่านำกลุ่มเสี่ยงเข้าสู่ระบบบำบัดรักษา จำนวน 862 คน คิดเป็น
ร้อยละ 130.80 ครอบคลุมทั้ง 19 หน่วยบริการ (รวม รพ.) คิดเป็นร้อยละ 100 คืนข้อมูลสัปดาห์ละ 3-4 ครั้ง
ส่วนกลุ่มมีพฤติกรรมก้าวร้าวรุนแรงส่งบำบัดรักษาที่ “CI ยาเสพติด” ระยะที่ 3 ประชุมพัฒนาเสริมสร้างความรู้
การบำบัดรักษาให้กับเจ้าหน้าที่ รพ.สต.