Page 20 - TEMCA Magazine ฉบับที่ 1 ปีที่ 29
P. 20
4ดับไฟดีๆ อย่างระวัง
Extinguish the fire if It is Safe to do So หากไฟลุกไหม้ใต้ฝากระโปรงหน้าที่มีเครื่องยนต์อยู่ ต้องเปิดล็อก ฝากระโปรง พร้อมท้ังเตรียมฉีดเครื่องดับเพลิงทันทีที่ยกฝากระโปรงขึ้น โดยพุ่งสารดับเพลิงไปที่ต้นกําาเนิดของไฟ (ถ้าทําาได้โดยไม่เส่ียง)
ปัญหาที่เรามักจะพบเสมอก็คือ ไม่มีการเตรียมเครื่องดับเพลิงไว้ใน รถยนต์อย่างเหมาะสม หรือแม้มีเคร่ืองดับเพลิงก็ขาดความรู้ในการเข้า ระงับเหตุอย่างปลอดภัย จึงขอแนะนําาเพิ่มเติมดังต่อไปนี้
4.1 เครื่องดับเพลิงที่ใช้ในรถยนต์เป็นที่นิยมกันอยู่ 3 ชนิด
ชนิดที่ 1 คือ ผงเคมีแห้ง Dry Chemical Powder ขนาดบรรจุ 2 ถึง 3 ปอนด์ (ให้ระวัง เมื่อฉีดแล้วจะมีฝุ่นฟุ้งกระจาย)
ชนิดที่ 2 ชนิดฟองโฟม ขนาด 2-3 ปอนด์
ชนิดท่ี 3 ชนิดนํา้ายาเหลวระเหย ขนาด 600-1000 มล. 4.2 สถานที่เก็บ
ควรใว้ใต้เบาะรถที่นั่งข้างคนขับ ห้ามให้เครื่องดับเพลิงถูกแสงแดด เปน็ อนั ขาด เพราะจะเกดิ ความรอ้ นจนอาจมคี วามเสยี หายอยา่ งรนุ แรงได้ และห้ามสอดเก็บไว้ใต้ท่ีนั่งคนขับ เพราะเครื่องดับเพลิงอาจไหลเลื่อน ออกมาเป็นอุปสรรคในการบังคับเบรกหรือคันเร่งได้
4.3 การใช้งาน
ควรเรียนรู้วิธีการใช้งานเครื่องดับเพลิงที่มีอยู่จากผู้ขายอย่าง ชัดเจนเครื่องดับเพลิงแต่ละเคร่ืองแต่ละยี่ห้ออาจมีวิธีการใช้งานต่างกัน
5หาที่บังอย่าเส่ียง
Take your possession and do not risk หากเพลิงลุกลามไปในบริเวณถังเก็บเชื้อเพลิง (ไม่ว่าเชื้อเพลิงชนิด ใดก็ตาม) ออกห่างจากตัวรถ และหาที่กําาบัง ควรไกลเกินกว่า 50 เมตร อย่าเสี่ยงเข้าระงับเหตุเป็นอันขาด !
คัมภีร์อัคคีภัยฉบับนี้ แม้จะเป็นเรื่องการดับไฟที่ดูเล็กๆ แต่ท่านรู้ หรอื ไมว่ า่ สถติ กิ ารเสยี ชวี ติ ในเหตเุ พลงิ ไหมร้ ถยนตน์ น้ั มอี ตั ราการสญู เสยี ชีวิตมากกว่าสถิติการเสียชีวิตในเหตุเพลิงไหม้อื่นๆ หลายเท่าตัวนัก
ผู้เขียนจึงหวังว่า บทความในคร้ังนี้ น่าจะเป็นประโยชน์ท่ีจะนําา พาความปลอดภัยมาสู่ท่านทุกคนได้ไม่มากก็น้อย.....สวัสดีครับ
ส่วนตัวผู้เขียน
นายคณาทัต จันทร์ศิริ
ประธาน APFA & FARA Group of ASIA E-Mail : fara.kanathat@gmail.com
คั ม ภี ร์ อั ค คี ภั ย
ISSUE1•VOLUME29 20 MAY-JULY2022