Page 42 - TEMCA Magazine ฉบับที่ 1 ปีที่ 29
P. 42

                                 4. สรุปผลการดําาเนินงานและข้อเสนอแนะ
4.1 สรุปผลการดําาเนินงาน โดยสามารถสรุปผลการดําาเนิน งานของท้ัง 2 หัวข้อที่ได้ทําาการศึกษาได้ดังน้ี
4.1.1 หัวข้อลูกถ้วยฉนวนไฟฟ้า (Section D : Insulator Assem- blies) หลังจากพบปัญหาท่ีข้อมูลทางเทคนิคของแบบ Drawing No.TP 136A ในหัวข้อ Suspension Insulators ในเล่มมาตรฐาน ท้ังสองเล่มคือ Specifications No. C-2 มาตรฐานท่ีใช้ในงานท่ี ระดับแรงดัน 115 กิโลโวลต์ และ 230 กิโลโวลต์ และเล่ม Specifications No. L-500 kV มาตรฐานท่ีใช้ในงานท่ีระดับแรงดัน 500 กิโลโวลต์ มีข้อมูลที่ไม่สอดคล้องกัน จึงทําาการดําาเนินงานโดย หลังจากทําาการตรวจสอบและเปรียบเทียบถึงข้อมูลกับมาตรฐาน ANSI ในรุ่น Standard Type และมาตรฐาน IEC ในรุ่น Fog Type รวมถึงเปรียบเทียบข้อมูลจากบริษัทผู้ผลิตอื่นท่ีทางสถานประกอบ การได้มีการใช้งานผลิตภัณฑ์ลูกถ้วยฉนวนไฟฟ้า ซึ่งผลการดําาเนิน งานพบว่า มีข้อมูล 3 หัวข้อท่ีมีข้อแตกต่างได้แก่ Maximum Disc Diameter, Unit Spacing และ Minimum Leakage Distance จึง ทําาการนําาเสนอไปว่ามีจุดไหนบ้างที่แตกต่าง
4.1.2 หัวข้อการต่อลงดิน (Section G : Grounding Materials)
โดยจะแบ่งผลการดําาเนินงานออกเป็น 2 ส่วนดังนี้
4.1.2.1 อุปกรณ์ในหัวข้อการต่อลงดิน หลังจากที่พบปัญหาใน มาตรฐานคืออุปกรณ์แต่ละชนิดที่ใช้งานของระบบส่งมี ข้อมูลที่ไม่ชัดเจนและมาตรฐานที่ใช้ในการอ้างอิงถึงข้อมูล ท่ีมี เช่น วัสดุท่ีใช้, วิธีการทดสอบอุปกรณ์ เป็นต้น จึงทําาการ แก้ไขปัญหาโดยนําาข้อมูลอุปกรณ์ในแต่ละส่วนมาทําาการ เปรียบกับมาตรฐานในปัจจุบัน เช่น มาตรฐาน UL 467,
มาตรฐาน IEC 62561 เป็นต้น
4.1.2.2 การลดความต้านทานดิน ซึ่งได้รับมอบหมายให้ตรวจสอบ
ข้อมูลค่าความต้านทานการต่อลงดินที่ระดับข้ัน (Step) ที่ 1-5 ว่าสอดคล้องกับแบบท่ีได้ระบุไว้หรือไม่ โดยที่ค่าความ ต้านทานการต่อลงดินจะต้องไม่เกิน 10 โอห์มตามท่ี มาตรฐานสถานประกอบการระบุไว้ ซึ่งผลที่ได้จากการ ดําาเนินงานหลังจากทําาการรวบรวมข้อมูลความต้านทาน
หมายเหตุ :
จําาเพาะดิน (Earth Resistivity) และค่าความต้านทานดิน จากเอกสารของสถานประกอบการมาดูแนวโน้ม ในแต่ละ ระยะของเสาส่งที่ได้ทําาการระบุค่าไว้ โดยทางผู้จัดทําาได้ทําา การสรุปผลและเสนอวิธีการแก้ไขปัญหาน้ีคือ การเพิ่มความ ยาวของแท่งหลักดิน, การเพ่ิมความหนาของแท่งหลักดิน, การเพ่ิมจําานวนแท่งหลักดิน, การเพิ่มความยาวตัวนําาราก สายดิน (Counterpoise) รวมถึงความแตกต่างในการต่อ ลงดินในแต่ละรูปแบบ รวมถึงการใช้สารปรับปรุงความต้าน ทานจําาเพาะของดิน ซึ่งทําาการนําาเสนอรายละเอียดของสาร แต่ละชนิดเพ่ิมเข้าไป เพื่อเป็นทางเลือกให้กับทางผู้ดูแลนําา ข้อมูลไปใช้ปรับปรุงเล่มมาตรฐานต่อไป
4.2 ข้อแนะนําาการนําาข้อมูลไปใช้งาน
เน่ืองจากข้อมูลมีการท้ังการอ้างอิงจากมาตรฐานสากลและ ข้อมูลในส่วนของบริษัทผู้ผลิตท่ีมีการใช้งานทั้งข้อมูลทางเทคนิค การสุ่มตัวอย่างการทดสอบ รวมถึงวิธีการทดสอบก่อนนําาข้อมูลไป ใช้งานควรตรวจสอบตามวัตถุประสงค์และรายละเอียดอย่างรอบ คอบให้สอดคล้องกับความต้องการมากที่สุด เป็นการป้องกันความ ผิดพลาดท่ีอาจเกิดขึ้นเม่ือจะนําาค่าหรือข้อมูลไปทดสอบ
4.3 ข้อเสนอแนะ
4.3.1 ผลการดําาเนินงานข้อมูลในบางส่วน เช่น การลดความต้าน ทานดนิ เนอ่ื งจากเปน็ การคาํา นวณจากสตู รคาํา นวณทใ่ี ชใ้ นระดบั เบอ้ื ง ตน้ ถา้ เปน็ ไปไดค้ วรนาํา ขอ้ มลู ทม่ี ไี ปคาํา นวณผา่ นโปรแกรมเฉพาะทาง อีกที่จะให้ค่าใกล้ความเป็นจริงและเพื่อเป็นการลดความผิดพลาดท่ี จะเกิดข้ึน
4.3.2 ควรทําาการจําาลองในรูปแบบการต่อลงดินเพ่ือเป็นการยืนยัน ผลลัพธ์ที่จะเกิดข้ึนหรือจําาลองสถานการณ์เพื่อเป็นการทดสอบ อุปกรณ์หรือค่าความต้านทานจําาเพาะของดิน เนื่องจากการดําาเนิน งานในครั้งนี้ประสบปัญหาในข้ันตอนการจําาลองเหตุการณ์เพราะ ไม่สามารถเข้าไปปฏิบัติงานได้อย่างท่ีควรจะเป็นจึงทําาให้เกิดขึ้นข้อ จําากัดในส่วนน้ี
โครงงานสหกิจศึกษา : การศึกษาและการออกแบบเบ้ืองต้นเกี่ยวกับวิศวกรรมสายส่ง นักศึกษา : นางสาวทิฆัมพร ท่าฉลาด คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
อาจารย์นิเทศ รศ.ดร.อรรถพลเง่าพิทักษ์กุล ผู้ช่วยนิเทศงาน คุณชัยวัฒน์พิทักษ์วาปี ผู้เรียบเรียง
สมองใสไฮเทค
        รายละเอียดของโครงงานทั้งหมดและบรรณานุกรม ขออนุญาต ไม่กล่าวถึง ณ ที่น้ี ท่านสามารถค้นหาได้ท่ีห้องสมุดของ สถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
ISSUE1•VOLUME29 42 MAY-JULY2022
บทความน้ีได้มีการปรับเนื้อหาข้อมูล และภาพประกอบให้พอดีกับคอลัมน์ โดย... ดร.เตชทัต บูรณะอัศวกุล












































































   40   41   42   43   44