Page 70 - TEMCA Magazine ฉบับที่ 1 ปีที่ 29
P. 70

                                 เ รื่ อ ง พิ เ ศ ษ
  รูปที่ 5 แสดงคล่ืนฮาร์มอนิกสามเฟสท่ี ร่วมเฟสกัน (in phase) กระแสไฟฟ้าน้ีจะ ไหลกลับสู่หม้อแปลงทางสายนิวทรัล ซ่ึง ทําาให้เกิดความร้อนสูงในหม้อแปลงและนิว ทรัล
 รูปที่ 5 ฮาร์มอนิกที่สาม (150Hz) ในสามไซเกิล
การหลีกเล่ียงความเสียหายดังกล่าว นิยมใช้ทางเลือกสองแนวทางคือ
1) ใช้หม้อแปลงตัวประกอบ k ซึ่งรองรับ
โหลดท่ีสูงขึ้นจากฮาร์มอนิกได้ และ ทําาการเพ่ิมขนาดนิวทรัลให้รับกระแส ไฟฟ้าได้มากขึ้น
2) ลดฮาร์มอนิกหรือเอาฮาร์มอนิกออกจาก ระบบ โดยทําาการติดตั้งชุดกรองฮาร์ มอนิกซ่ึงค่อนข้างซับซ้อนมากกว่า
ระบบไฟฟ้าที่ทําางานตํา่ากว่า 69kV ควร
ให้ THD ของแรงดันไฟฟ้าตํา่ากว่า 5% และ ควรให้ความผิดเพ้ียนของแรงดันไฟฟ้าใน ฮาร์มอนิกแต่ละลําาดับต่ําากว่า 3% รูปที่ 6 แสดงตัวอย่างระบบท่ีความผิดเพ้ียนของ แรงดันไฟฟ้าสูงจนยอมรับไม่ได้ ซ่ึงมีฮาร์ มอนิกลําาดับที่ห้าและท่ีเจ็ดมีค่าสูงมาก เน่ืองจากใช้ชุดขับแบบหกพัลส์ที่ไม่มีชุด กรองไฟฟ้า
 รูปที่ 6 ตัวอย่างฮาร์มอนิกลําาดับที่ห้าและที่เจ็ดมีค่าสูงมาก
จากรูปที่ 6 ท่ีมีฮาร์มอนิกสูงมากดังกล่าว ซึ่งแสดงเป็นสเปคตรัมตาม ลําาดับฮาร์มอนิกนั้น แสดงเป็นคลื่นแรงดันไฟฟ้าและกระแสไฟฟ้าตาม ความถี่ไฟฟ้าหลักมูลได้ตามรูปที่ 7
 รูปที่ 7 คลื่นไฟฟ้าของชุดขับจากรูปที่ 6 ที่ต่อกับระบบไฟฟ้าปกติ
กล่าวได้ว่าการหลีกเล่ียงปัญหาฮาร์มอนิกข้ันพื้นฐานควรทําาดังนี้
1. กําาหนดรายละเอียดทางเทคนิคด้านฮาร์มอนิกของอุปกรณ์
2. แก้ฮาร์มอนิกโดยใช้ตัวกรองฮาร์มอนิกหรือยูพีเอสชนิดไม่สร้าง
ฮาร์มอนิกย้อนกลับ
3. เผื่อขนาดสายนิวทรัลให้มากกว่าสายเฟส แต่ก็ไม่ได้ช่วยป้องกัน
หม้อแปลง
4. ใช้หม้อแปลงพิกัด K ไม่น้อยกว่า 9 เมื่อใช้คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล
จาํา นวนมาก อยา่ งไรกต็ าม ควรคาํา นวณพกิ ดั K และเลอื กหมอ้ แปลง พิกัด K ท่ีเหมาะสม
      ส่วนตัวผู้เขียน
รศ. ถาวร อมตกิตติ์
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีปทุม
 ISSUE1•VOLUME29 70 MAY-JULY2022











































































   68   69   70   71   72