Page 10 - Fire Bible Collection Vol.2/2022 by TOM
P. 10

                                    4. ไม่เจาะจงผู้รับคําาส่ัง หรือพูดวกวน หรือพูดหลายเรื่องพร้อมกัน
C2 : Control การควบคุม
หมายถึง การกําากับ ดูแล ติดตามตรวจสอบ ประเมินผลการดําาเนิน งานในส่วนต่างๆ ขององค์กร ว่าเป็นไปตามมาตรฐาน ตามแผน ตาม วัตถุประสงค์ และเป้าหมายที่กําาหนดไว้หรือไม่ หากไม่เป็นไปตามที่ กําาหนดไว้ ต้องมีการปรับปรุงแก้ไข และพัฒนาให้มีประสิทธิภาพ และ บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร (หากเป็นภาวะฉุกเฉินต้องจัดการทันที)
C3 : Coordination การประสานงาน
หมายถึง การติดต่อส่ือสารให้เกิดการร่วมมือในการปฏิบัติงาน มี
ความสอดคล้องกัน สร้างระเบียบในการทําางานให้เป็นไปในทิศทางเดียว
กัน การดําาเนินงานราบร่ืน ไม่เกิดการทําางานซ้ําาซ้อน หรือเหลื่อมลํา้ากัน เพ่ือให้การปฏิบัติงานบรรลุวัตถุประสงค์ วัตถุประสงค์การส่ือสาร
C4 : Communication การสื่อสาร
หมายถึง กระบวนการถ่ายทอดข่าวสาร ข้อมูล ความรู้ ประสบการณ์ ความรู้สึก ความคิดเห็น ความต้องการจากผู้ส่งสารโดยผ่านสื่อต่างๆ ที่ อาจเป็นการพูด การเขียนสัญลักษณ์อื่นใด การแสดงหรือการจัดกิจกรรม ต่างๆ ไปยังผู้รับสาร ซึ่งอาจจะใช้กระบวนการสื่อสารที่แตกต่างกันไป ตามความเหมาะสม หรือความจําาเป็นของตนเองและคู่สื่อสาร โดยมี วัตถุประสงค์ให้เกิดการรับรู้ร่วมกันและมีปฏิกิริยาตอบสนองต่อกัน บริบททางการส่ือสารท่ีเหมาะสมเป็น ปัจจัยสําาคัญที่จะช่วยให้การสื่อสาร สัมฤทธ์ิผล
 การสื่อสาร คือการถ่ายทอด
ข้อมูล ความรู้ ความรู้สึก
จิตสําานึก ประสบการณ์ งานท่ีเห็น
ข้อสงสัย ข้อเสนอ ข้อควรเป็น
ความคิดเห็น ความต้องการ สื่อสารเลย องค์ประกอบที่สําาคัญของการส่ือสาร มี 4 ประการ ดังนี้
1. ผู้ส่งสาร (sender) หรือ แหล่งสาร (source) หมายถึง บุคคล
กลุ่มบุคคล หรือ หน่วยงานท่ีทําาหน้าที่ในการส่งสาร หรือเป็น
แหล่งกําาเนิดสาร
2. สาร (message) หมายถงึ เรอ่ื งราวทม่ี คี วามหมาย หรอื สง่ิ ตา่ งๆ
ที่อาจอยู่ในรูปของข้อมูล ความรู้ ความคิด ความต้องการ อารมณ์ ฯลฯ ซึ่งถ่ายทอดจากผู้ส่งสารไปยังผู้รับสารให้ได้รับรู้ และแสดงออกมาโดยอาศัยภาษาหรือสัญลักษณ์ใดๆ
3. ส่ือ หรือ ช่องทาง (media or channel) เป็นองค์ประกอบท่ี สําาคัญอีกประการหน่ึงในการส่ือสาร หมายถึง สิ่งท่ีเป็นพาหนะ ของสาร ทําาหน้าที่นําาสารจากผู้ส่งสารไปยังผู้รับสาร ผู้ส่งสาร ตอ้ งอาศยั สอ่ื หรอื ชอ่ งทางทาํา หนา้ ทน่ี าํา สารไปสผู่ รู้ บั สาร
4. ผู้รับสาร (receiver) หมายถึง บุคคล กลุ่มบุคคล หรือมวลชน
1. เพื่อแจ้งให้ทราบ (inform) ในการทําาการสื่อสาร ผู้ทําาการส่ือสาร ควรมีความ ต้องการท่ีจะบอกกล่าวหรือช้ีแจงข่าวสาร เร่ืองราว เหตุการณ์ หรือส่ิงอื่นใดให้ผู้รับสารได้รับทราบ
2. เพ่ือสอนหรือให้การศึกษา (teach or education) ผู้ทําาการส่ือ สารอาจมวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอ่ื จะถา่ ยทอดวชิ าความรู้ หรอื เรอ่ื งราว เชิงวิชาการ เพื่อให้ผู้รับสารได้มีโอกาสพัฒนาความรู้ให้เพิ่มพูน ย่ิงข้ึน
3. เพอ่ื สรา้ งความพอใจหรอื ใหค้ วามบนั เทงิ (please of entertain) ผทู้ าํา การสอ่ื สารอาจ ใชว้ ตั ถปุ ระสงคใ์ นการสอ่ื สารเพอ่ื สรา้ งความ พอใจ หรือให้ความบันเทิงแก่ผู้รับสาร โดยอาศัยสารที่ตนเอง ส่งออกไป ไม่ว่าจะอยู่ในรูปของการพูด การเขียน หรือการ แสดงกิริยาต่างๆ
4. เพอ่ื เสนอหรอื ชกั จงู ใจ (Propose or persuade) ผทู้ าํา การสอ่ื สาร อาจใช้วัตถุประสงค์ในการส่ือสาร เพ่ือให้ข้อเสนอแนะ หรือ ชกั จงู ใจในสง่ิ ใดสง่ิ หนง่ึ ตอ่ ผรู้ บั สาร และอาจชกั จงู ใจใหผ้ รู้ บั สาร มคี วามคดิ คลอ้ ยตาม หรอื ยอมปฏบิ ตั ติ ามการเสนอแนะของตน
5. เพื่อเรียนรู้ (learn) วัตถุประสงค์นี้มีความเกี่ยวข้องโดยตรงกับ ผู้รับสาร การแสวงหาความรู้ ของผู้รับสาร โดยอาศัยลักษณะ ของสาร ในกรณีนี้มักจะเป็นสารที่มีเน้ือหาสาระเก่ียวกับวิชา ความรู้ เป็นการหาความรู้เพิ่มเติมและเป็นการทําาความเข้าใจ กับเนื้อหาของสารที่ผู้ทําาการสื่อสารถ่ายทอดมาถึงตน
6. เพื่อกระทําาหรือตัดสินใจ (dispose or decide) ในการดําาเนิน ชีวิตของคนเรามี สิ่งหนึ่งที่ต้องกระทําาอยู่เสมอก็คือ การตัดสิน ใจกระทําาการอย่างใดอย่างหน่ึง การตัดสินใจ นั้นอาจได้รับการ เสนอแนะ หรือชักจูงใจให้กระทําาอย่างน้ันอย่างน้ีจากบุคคลอื่น อยู่เสมอ ทางเลือกในการ ตัดสินใจของเราจึงข้ึนอยู่กับข้อเสนอ แนะน้ัน
คั ม ภี ร์ อั ค คี ภั ย
    ISSUE3•VOLUME28 NOV.2021-JAN.2022 19
ทร่ี บั เรอ่ื งราวขา่ วสาร จากผสู้ ง่ สาร และแสดงปฏกิ ริ ยิ าตอบกลบั (Feedback) ต่อผู้ส่งสาร หรือส่งสารต่อไปถึงผู้รับสารคนอื่นๆ ตามจุดมุ่งหมายของผู้ส่งสาร
               




































































   8   9   10   11   12