Page 15 - Fire Bible Collection Vol.2/2022 by TOM
P. 15

                                    คั ม ภี ร์ อั ค คี ภั ย
   (2) จัดหาเครื่องมือ (Prepare)
2.1 เคร่ืองมืออุปกรณ์เตือนภัย : Smoke /Heat Detector , Fire Alarm , Sprinkler, Emergency light, Fire Control Panel, Strobe light, กล้องวงจรปิด, โดรนสําารวจพ้ืนท่ี ฯลฯ
2.2 อปุ กรณจ์ ดั การภยั : พดั ลมเพม่ิ แรงดนั ทางหนไี ฟ, ถงั ดบั เพลงิ , สายฉีดน้ําาดับเพลิง, ชุดป้องกันเพลิง, ปั๊มนํา้าดับเพลิง ประจําาท่ี, แหล่งเก็บนํา้า, ปั๊มนํา้าดับเพลิงเคล่ือนที่ได้, ทาง จ่ายนํา้า (Fire Hydrant), หัวรับน้ําา (Inlet Valve), เคร่ือง ป้องกันการติดเชื้อ–เครื่องฆ่าเช้ือโรค ฯลฯ
2.3 อปุ กรณค์ น้ หา-ชว่ ยชวี ติ : รอกหนไี ฟ, ทอ่ ผา้ หนไี ฟ, เบาะลม ช่วยชีวิต, เคร่ืองช่วยหายใจ SCBA, เชือก, ขวาน, ฆ้อน ปอนด,์ บนั ไดสาํา หรบั พาด, เปลผา้ ใบฉกุ เฉนิ Soft Stretcher, อุปกรณ์ทางการแพทย์ฉุกเฉิน, โดรนติดกล้องทีวี, หุ่นยนต์ ค้นหา Buddy ฯลฯ
2.4 ป้ายสัญญลักษณ์เตือนภัย : ป้ายทางหนีไฟ, ป้ายทางออก ฉุกเฉิน, ป้ายทางออก/ทางเข้า/ทางขึ้น/ทางลง, เครื่องดับ เพลิง, ป้ายติดตั้งห่วงรอกหนีไฟ, ป้ายที่เก็บรอกหนีไฟ, ป้ายสัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้, ป้ายกอง บก.แผน, ป้าย จุดรวมพล, ป้ายตู้เก็บสายดับเพลิง, ป้ายแสดงสิ่งอันตราย,
2.5 เครอ่ื งมอื สอ่ื สาร : ตดิ ตอ่ สอ่ื สาร เสยี งตามสาย , หอกระจาย ข่าวท่ีอุปกรณ์ใช้พลังงาน 2 ระบบ, วิทยุสื่อสาร, เครื่อง ขยายเสียงแบตเตอร่ี, โทรศัพท์, เครื่องขยายเสียงจากรถ พยาบาล, ทีวีวงจรปิดท่ีเพียงพอ, โทรศัพท์มือถือของ ERT ที่สามารถส่ง Group Message ได้, Line กรุ๊ป และระบบ GPS-Sky Eye FARA และ เคร่ืองมือในการบัญชาการ (รถมด X), โดรนติดลําาโพง
(3) ฝึกปรือผู้ใช้ (Practice)
จัดตั้งคณะกรรมการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในชุมชน ซึ่งต่อไปน้ีจะเรียกว่า ทีมตอบโต้เหตุฉุกเฉิน หรือ ทีมฉุกเฉิน ERT: Emergency Response Team โดยใช้หลักการค้นหาและกู้ภัย ในเขตเมือง (USAR : Urban Search And Rescue) ภายใต้การ แนะนําาของคณะท่ีปรึกษาด้านการค้นหา และกู้ภัยระหว่างประเทศ International Search and Rescue Advisory Group (INSARAG) ภายใต้องค์กรสหประชาชาติ (UN) ซึ่งนําามาพัฒนาและปรับปรุง ให้เหมาะสมกับการใช้งานในหน่วยงาน โดย สมาคมฯ FARA และ สมาพันธ์ฯ APFA
ขยายความ (Explanation)
ค้นให้พบ (Search)
ก่อนเกิดเหตุ • เมอ่ื เกดิ เหตุ•
หลังเกิดเหตุ •
จะต้องค้นหาความเสี่ยงท่ีจะนําาไปสู่เหตุแห่ง ภัยพิบัติต่างๆ (สําารวจตรวจตรา : ใคร-ทําา อะไร-ท่ีไหน-เม่ือไหร่-อย่างไร ดําาเนินการค้นหา เพ่อื ช่วยชีวิตผ้ปู ระสบภัยทุก ทกุ วถิ ที างโดยใชเ้ครอ่ื งมอื ทเ่ีหมาะสมทนั สมยั (รวมถึงการใช้สุนัข K9 ค้นหาด้วย) ค้นหาสาเหตุ และปัญหาที่ก่อให้เกิดภัยแล้ว หาวิธีแก้ไขต่อไป
รายงานผลการปฏิบัติงาน (Post-Mission) เมื่อจบภารกิจ ต้อง มีการจัดทําารายงานผลการปฏิบัติการ “ค้นหและกู้ภัย” และการจัด ประชุมสรุป AAR (After Action Review) เพ่ือกําาหนดแนวทางการ ปรับปรุงแก้ไขการปฏิบัติงานต่อไป
จบทุกภัย (Rescue)
1.การเตรียมความพร้อม (Preparedness) การฝึกอบรมให้ ความรู้ในเร่ืองการช่วยชีวิตจากภัยพิบัติต่างๆ ให้ครอบคลุมตาม แต่ชุมชนอย่างเหมาะสม การทบทวนบทเรียนจากการปฏิบัติงานท่ี ผ่านมา และการวางแผนการปฏิบัติสําาหรับภัยพิบัติในอนาคต
2.การเตรียมตัวออกปฏิบัติงาน (Mobilization)
มีความพร้อมท่ีจะออกปฏิบัติงานได้ทันทีในวินาทีแรกเสมอ เพื่อให้ถึงพื้นที่เกิดเหตุได้เร็วที่สุด
3.การปฏิบัติงาน (Operation)
สามารถปฏิบัติงานการเผชิญภัยได้อย่างสมบูรณ์ ท้ังคนท่ีพอ เพียง ความรู้ความเชี่ยวชาญ เครื่องมือครบถ้วนเหมาะสม ความคุ้น เคยต่อการทําางานเป็นทีม และเครือข่ายท่ีพร้อมสนับสนุน
4.การถอนกําาลัง (Demobiliization) หมายถึง ถอนกําาลังออก จากพื้นที่ประสบภัยเมื่อภารกิจเสร็จส้ิน หรือได้รับคําาส่ังเร่งด่วนใน
  ข้ออ้างอิง (Reference) - www.inarag.org
ควมหมยที่เข้ใจกันในนนชติเกี่ยวกับ Search-&-Rescue คือกร “ค้นให้พบ–จบทุกภัย”
 ISSUE4•VOLUME28  18                  F E B R U A R Y - A P R I L 2 0 2 2
       









































































   13   14   15   16   17