Page 25 - Fire Bible Collection Vol.2/2022 by TOM
P. 25

                                    คั ม ภี ร์ อั ค คี ภั ย
  2. ไฟฟ้า-อุปกรณ์ไฟฟ้า สามารถทําาให้เกิดการลุกลามได้ เช่น เมาน์เทน บี ท่ีเกิดบนฝ้าเพดาน ซึ่งสาเหตุนั้น ยังไม่มีสรุปใน การสอบสวน แต่มีผู้ยืนยันว่าเหตุเกิดจากไฟฟ้าบนฝ้าเพดาน ดงั นน้ั จงึ ควรมกี ารตรวจสอบระบบไฟฟา้ อยา่ งเขม้ งวดสมา่ํา เสมอ
3. เตรียมท่าไว้หนี : ท่านที่เคารพ หากท่านรักที่จะเที่ยวในสถาน ทล่ี กั ษณะน้ี ทา่ นเคยคดิ มย้ั วา่ ถา้ เกดิ เหต.ุ ..ทา่ นจะหนอี ยา่ งไร? ประตูทางออกมีกี่ทาง?...สิ่งกีดขวางมีอะไรบ้าง? เช่น ความ มืด จะมองไม่เห็นควันไฟที่คละคลุ้ง ฝูงชนท่ีแตกต่ืน รวมทั้งตัว เองที่อาจจะดื่มแอลกอฮอล์ จนครองสติไม่อยู่
4. ฝึกดีจึงปลอดภัย : ท่านเคยรู้วิธีการหนีไฟ หรือหนีตายมาบ้าง หรือเปล่า?...ท่านเคยฝึกอบรมการใช้เครื่องดับเพลิงหรือสาย ฉีดนํา้าดับเพลิงมาบ้างหรือไม่?...ท่านเคยหนีไฟจากอาคารสูง อาจจะเป็นอุปกรณ์รอกหนีไฟมาบ้างหรือยัง?...ถามตัวเองนะ ครับ ว่าเคยฝึกอะไรท่ีจะสามารถช่วยชีวิตตนเองและคนอื่นใน เหตุการณ์ฉุกเฉินมาบ้าง?
5. หนีไฟต้องตรวจสอบ : คําาว่า “หนีไปต้องตรวจสอบ” หมาย ความว่าในกรณีท่ีท่านจะหนีจากที่ท่ีถูกปิดกั้นอยู่ออกไปสู่ ทิศทางที่ปลอดภัยข้ึน ท่านจะต้องตรวจสอบว่าทิศทางนั้น ปลอดภัยจริงหรือเปล่า เช่น ถ้าอยู่ในห้อง แล้วต้องการเปิด ประตูหนีไฟ ท่านควรใช้หลังมือแตะที่ลูกบิด หรือผนังก่อน ทําาการเปิดประตู เพ่ือให้รู้ว่าหลังประตูนั้นมีความร้อน ซึ่งจะ เป็นอันตรายต่อท่านขนาดไหน หรือถ้าท่านมุ่งไปสู่ทางหนีไฟ และเข้าไปเจอควันคละคลุ้งอยู่ อย่าฝ่าควันไปเป็นอันขาด ต้อง กลับมาในทิศทางท่ีปลอดภัย ไม่มีควัน เป็นต้น
6. คลานหมอบใต้ควัน : เป็นหลักการสากลที่เม่ือพบหมอกควัน การคลานตํา่าไปสู่ทิศทางท่ีปลอดภัยมากขึ้นนั้น เป็นหนทางที่ดี กว่าการหนีไปพร้อมกับสูดควันเข้าปอด (Crawl Low under smoke) เพราะว่าเมื่อเกิดไฟไหม้ ความร้อนและกลุ่มควันจะ ลอยขึ้นสู่ที่สูงเหนือพื้น 30-40 เซนติเมตร จะมีช่องว่าง มี อากาศบริสุทธิ์ลอยอยู่ในระยะต้นๆ ของการเกิดเพลิงไหม้
7. บอกกันให้ทั่ว : ขั้นตอนปฏิบัติเม่ือเกิดเพลิงไหม้ 4 ขั้นตอน ที่มัก จะสอนกันทั่วไป คือ “พบเหตุ แจ้งเหตุ ระงับเหตุ หนีเหตุ” เม่ือพบเหตุเพลิงไหม้ จึงสมควรแจ้งให้คนส่วนใหญ่รู้ว่า ขณะ นี้ไฟไหม้แล้ว... ไฟไหม้!...และแจ้งด้วยว่าไฟไหม้อยู่ที่ตรงไหน ผู้ท่ีมีประสบการณ์ และเคยได้รับการฝึกใช้เครื่องดับเพลิงมา จะได้ช่วยกันระงับเหตุ และคนอ่ืนๆ จะได้รีบเผ่นหนีกันอย่าง ปลอดภัย
8. รวมตัวจุดหมาย : เมื่อหนีออกมาจากที่เกิดเหตุแล้วก็ควรจะไป รวมตัวกัน ณ จุดนัดพบท่ีตกลงกันไว้ก่อน ซ่ึงอาจจะเรียกว่า
“จุดรวมพล” (Assembly Point) แล้วสําารวจว่าออกมากัน ครบถ้วนหรือไม่ มีอาการบาดเจ็บอันตรายอะไรกันบ้างหรือไม่ (อย่าลืมนัดหมายกันก่อนเข้าในสถานบันเทิง หรือสถานท่ีท่ีเรา ไม่คุ้นเคยทุกคร้ัง ว่าจุดนัดพบ หรือจุดรวมพลคือที่ใด)
9. ดับไฟท่วมตัว : เมื่อไฟติดตามเน้ือตัว เส้ือผ้า อย่าว่ิง...ให้ หยุด ทรุดตัวลง เอามือปิดหน้า และกล้ิงทับไฟ ที่ฝรั่งเขาพูดว่า Stop - drop & Roll การวิ่งหนีกระเซอะกระเซิงไป ทําาให้ไฟ ลุกลามตามใบหน้าและผม พร้อมๆ ท้ังสูดหายใจเอาควันพิษ เข้าไปในปอด จนได้รับบาดเจ็บถึงตายแทบทุกรายไป
10. อย่ากลัวเมื่อติดกับ : สติ-ความระลึกรู้ ...รู้หาวิธีอย่างใจเย็นๆ เป็นสิ่งสําาคัญท่ีสุด เมื่อเผชิญกับภาวะฉุกเฉินเหล่าน้ี....ตั้งสติ ครับ คิดให้ดีว่ามีหนทางใดท่ีตัวเองจะปลอดภัย
“สติมา ปัญญาเกิด”...แต่น่ันหมายความว่าท่านต้องหาความรู้ไว้ ล่วงหน้าก่อนอย่างแน่นอน...ใช่ไหมครับ?
จากซานติก้า มาสู่ เมาน์เทน บี.... และจากนี้จะไปที่ไหน? ...ใครจะอยู่ท่ีนั่นบ้าง?
ส่วนตัวผู้เขียน
นายคณาทัต จันทร์ศิริ
ประธาน APFA & FARA Group of ASIA E-Mail : fara.kanathat@gmail.com
     ISSUE2VOLUME29  18                  A U G U S T - O C T O B E R 2 0 2 2
       

















































































   23   24   25   26   27