Page 40 - TEMCA MAGAZINE ฉบับที่ 4 ปีที่ 28
P. 40
ความคงทน ในด้านการใช้งานของสาย และกําาหนดราย ละเอียดรายละเอียด 30% Conductivity เนื่องจากยังเพียง พอต่อการใช้งานไว้คงเดิมโดยให้ข้อมูลทั้งหมดเป็นไปตาม มาตรฐาน ASTM B910/910 M และ IEC 62561 Part 2
3.2.1.3 ตัวจับยึดแท่งหลักดิน (Ground Rod Clamp) ได้เพิ่มข้อมูล ในส่วนของการอ้างอิงมาตรฐาน ให้เป็นไปตาม IEC 62561 Part 1 หรือสามารถนําาไปรวมในหัวข้อการเช่ือมด้วยความ ร้อน (Exothermic Welding) ได้ โดยตัวจับยึดจะมีวิธีการ ที่คล้ายกัน รูปแบบการใช้งานจะแตกต่างกันออกไปเช่น Cable to Cable, Cable to Ground Rod หรอื Cable to Steel ท่ีสําาคัญควรจะเป็นวัสดุแบบ Copper Alloy และองค์ประ กอบอื่นๆ เช่น Silicon Bronze U-Bolts, Nuts และ Lock Washer ต้องเป็นไปตามมาตรฐานกําาหนด
3.2.1.4 Ground Connector at Tower โดยเพิ่มข้อมูลในส่วน มาตรฐานที่เกี่ยวข้องได้แก่ UL 486, NEMA CC1 และ IEC 62561 Part 1 ซึ่งมีเน้ือหาและข้อกําาหนดสําาหรับหาง ปลา (Copper Lugs) ที่ใช้สําาหรับบริเวณเสาส่ง โดยได้ทําา การเปรียบเทียบวัสดุท่ีใช้ผลิตเพื่อพิจารณาถึงประโยชน์ที่ จะได้รับสูงสุดในด้านต่างๆ
3.2.1.5 การเช่ือมด้วยความร้อน (Exothermic Welding) ต้องเป็น ไปตามมาตรฐาน UL 467, IEC 62561 Part 1, IEEE 837 และ ASTM โดยรายละเอียดทั้งหัวข้อผงเช่ือมโลหะและ การเช่ือมโมลด์รายละเอียดจะเป็นไปตามที่กล่าวไว้ รวมถึง ปริมาณผงเช่ือมท่ีมีคําาแนะนําาให้ใช้ตามปริมาณท่ีเหมาะสม ตามมาตรฐานและท่ีบริษัทระบุเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพ สูงสุดตามการใช้งาน อ่านต่อฉบับหน้า
สมองใสไฮเทค
หมายเหตุ :
รายละเอยี ดของโครงงานทง้ั หมดและบรรณานกุ รม ขออนญุ าต ไม่กล่าวถึง ณ ท่ีน้ี ท่านสามารถค้นหาได้ท่ีห้องสมุดของ สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอมเกลา้ เจา้ คณุ ทหารลาดกระบงั
โครงงานสหกิจศึกษา : การศึกษาและการออกแบบเบื้องต้นเกี่ยวกับวิศวกรรมสายส่ง นักศึกษา : นางสาวทิฆัมพร ท่าฉลาด คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
อาจารย์นิเทศ รศ.ดร.อรรถพลเง่าพิทักษ์กุล ผู้ช่วยนิเทศงาน คุณชัยวัฒน์พิทักษ์วาปี
ผู้เรียบเรียง
บทความนี้ได้มีการปรับเนื้อหาข้อมูลและ ภาพประกอบให้พอดีกับคอลัมน์
โดย... ดร.เตชทัต บูรณะอัศวกุล
ISSUE4•VOLUME28 40 F E B R U A R Y - A P R I L 2 0 2 2