Page 69 - TEMCA MAGAZINE ฉบับที่ 4 ปีที่ 28
P. 69

                                    ไ ฟ ฟ้ า แ ล ะ เ ค รื่ อ ง ก ล
    รูปแบบ สัญลักษณ์ และรายละเอียดเกี่ยวกับพ้ืนท่ีสําาหรับยานพาหนะ
๑. ป้ายแสดงตําาแหน่งพื้นที่สําาหรับรถดับเพลิง
๑.๑ ป้ายมีลักษณะสี่เหล่ียมผืนผ้า พื้นสีแดงสะท้อนแสง ขนาดความกว้าง ๓๐๐ มิลลิเมตร
สูง ๔๕๐ มิลลิเมตร เป็นอย่างน้อย
๑.๒ แสดงสัญลักษณ์รูปรถดับเพลิงสีขาว ขนาดความสูงประมาณ ๑๖๐ มิลลิเมตร ความยาว
หวั ใจดว้ ยไฟฟา้ แบบอตั โนมตั ิ จาํา นวน ตาํา แหนง่ และระบบการตดิ ตง้ั ใหเ้ปน็ ไปตามมาตรฐาน การปฏิบัติการฉุกเฉินที่คณะกรรมการการ แพทย์ฉุกเฉินประกาศกําาหนด เคร่ือง AED สามารถเพ่ิมโอกาสการรอดชีวิตของผู้ป่วย ภาวะหวั ใจหยดุ เตน้ ได้ ซง่ึ มากกวา่ 50% ของ เหตุการณ์หัวใจหยุดเต้นน้ันเกิดข้ึนนอกโรง พยาบาล จึงได้กําาหนดให้มีการติดตั้งเคร่ือง AED ในทส่ี าธารณะและกาํา หนดใหใ้ ชไ้ ดโ้ ดย ประชาชนท่ัวไป
เคร่ืองฟ้ืนคืนคล่ืนหัวใจด้วยไฟฟ้าแบบ อตั โนมตั ิ(AutomatedExternalDefibrillator :AED)บา้ งทเี รยี กวา่ เครอ่ื งกระตกุ ไฟฟา้ หวั ใจ ชนิดอัตโนมัติ เป็นอุปกรณ์ท่ีใช้ช่วยเหลือ ผู้ป่วย “ภาวะหัวใจหยุดเต้น” ใช้กระตุก หัวใจในกรณีท่ีผู้ป่วยมีอาการหัวใจหยุดเต้น เฉียบพลัน การที่จะทําาให้หัวใจที่หยุดเต้น กลับมาเต้นอีกคร้ัง ด้วยการใช้กระแสไฟฟ้า ในการกระตุกควบคู่ไปกับการทําา CPR (Cardio Pulmonary Resuscitation การกด ปั๊มหน้าอกช่วยฟื้นคืนชีพ: CPR) จากสาเหตุ หัวใจเต้นผิดจังหวะ ช็อก จมน้ําา หรือกระแส ไฟฟ้าช็อต เป็นต้น
หลักการทําางานของเครื่อง AED คือ การวิเคราะห์คลื่นไฟฟ้าหัวใจท่ีเป็นแบบ shockable rhythms (สามารถชอ็ กไฟฟา้ ได)้ ซึ่งได้แก่ คลื่นไฟฟ้าหัวใจแบบ Ventricular Fibrillation (VF) และ Pulseless Ventricular Tachycardia (PVT) จากน้ันเครื่องจะออก คาํา สง่ั ใหผ้ ชู้ ว่ ยเหลอื กดปมุ่ ชอ็ ก⚡️เพอ่ื ปลอ่ ย
 ประมาณ ๓๕๐ มิลลิเมตร
๑.๓ กรณีที่ป้ายมีขนาดใหญ่กว่าที่กําาหนด
สัดส่วนโดยตรง
๑.๔ สีสะท้อนแสงมีความเข้มปานกลาง
ท้ังนี้ ตามรูปท่ี ๑
ให้ขยายขนาดสัญลักษณ์รูปรถดับเพลิงเพ่ิมเป็น
 ๒. ป้ายแสดงตําาแหน่งพ้ืนท่ีสําาหรับรถพยาบาลหรือรถปฏิบัติการฉุกเฉิน
๒.๑ ป้ายมีลักณะสี่เหล่ียมผืนผ้า พ้ืนสีเขียวสะท้อนแสง ขนาดความกว้าง ๓๐๐ มิลลิเมตร สูง
๔๕๐ มิลลิเมตร เป็นอย่างน้อย
๒.๒ แสดงสัญลักษณ์รูปพยาบาลสีขาว ขนาดความสูงประมาณ ๑๖๐ มิลลิเมตร ความยาว
ประมาณ ๓๕๐ มิลลิเมตร
๒.๓ กรณีท่ีป้ายมีขนาดใหญ่กว่าที่กําาหนด
สัดส่วนโดยตรง
๒.๔ สีสะท้อนแสงมีความเข้มปานกลาง
ท้ังนี้ ตามรูปท่ี ๒
ให้ขยายขนาดสัญลักษณ์รูปรถพยาบาลเพ่ิมเป็น
 ๓. ตําาแหน่งการติดป้าย
ตดิ ตง้ั ในบรเิ วณพน้ื ทส่ี าํา หรบั ยานพาหนะตามทก่ี าํา หนดในกฎกระทรวง สงู จากระดบั พน้ื ผวิ จราจร
หรือพ้ืนผิวทางเดินเท้าไม่น้อยกว่า ๒.๐๐ เมตร และสามารถมองเห็นได้ชัดเจนจากเส้นทางเดินรถ
๔. เส้นแสดงขอบเขตพื้นท่ีสําาหรับรถดับเพลิง
๔.๑ เส้นแสดงขอบเขตพื้นที่สําาหรับรถดับเพลิง มีลักษณะเป็นกรอบสี่เหลี่ยมผืนผ้าสีเหลือง
ขนาดความกว้างไม่น้อยกว่า ๓.๐๐ เมตร ความยาวไม่น้อยกว่า ๑๐.๐๐ เมตร
๔.๒ เส้นกรอบมีความหนา ๑๐๐ มิลลิเมตร ภายในกรอบสี่เหลี่ยมให้มีเส้นทแยงมุม ๔๕
องศา ความหนาเส้นทแยง ๑๐๐ มิลลิเมตร ระยะห่างระหว่างเส้นทแยงเป็นช่องว่างไม่เกิน ๑.๐๐ เมตร เต็มกรอบพื้นที่
๔.๓ สีมีค่าการสะท้อนแสงไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๘
๔.๔ กรณีที่มีขอบถนนหรือทางเดินเท้า ให้ทาเป็นสีเหลืองเช่นเดียวกับสีที่แสดงขอบเขตพื้นที่ สําาหรับรถดับเพลิง ตลอดแนวบริเวณพื้นที่นั้นด้วย
ท้ังน้ี ตามรูปที่ ๓
๕. เส้นแสดงขอบเขตพ้ืนที่สําาหรับรถพยาบาลหรือรถปฏิบัติการฉุกเฉิน
๕.๑ เส้นแสดงขอบเขตพ้ืนท่ีสําาหรับรถพยาบาลหรือรถปฏิบัติการมีลักษณะเป็นกรอบ
ส่ีเหล่ียมผืนผ้าสีเหลือง ขนาดความกว้างไม่น้อยกว่า ๒.๔๐ เมตร ความยาวไม่น้อยกว่า ๗.๐๐ เมตร ๕.๒ เส้นกรอบมีความหนา ๑๐๐ มิลลิเมตร ภายในกรอบสี่เหลี่ยมให้มีเส้นทแยงมุม ๔๕ องศา ความหนาเส้นทแยง ๑๐๐ มิลลิเมตร ระยะห่างระหว่างเส้นทแยงเป็นช่องว่างไม่เกิน ๑.๐๐ เมตร
เต็มกรอบพื้นที่
๕.๓ สีมีค่าการสะท้อนแสงไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๘
๕.๔ กรณที ม่ี ขี อบถนนหรอื ทางเดนิ เทา้ ใหท้ าสเี ปน็ สเี หลอื งเชน่ เดยี วกบั สที แ่ี สดงขอบเขตพน้ื ท่ี
สําาหรับรถดับเพลิง ตลอดแนวบริเวณพ้ืนท่ีน้ันด้วย ทั้งนี้ ตามรูปท่ี ๔
  ด้วยการแพทย์ฉุกเฉิน) อย่างน้อย 1 คัน มีความกว้างไม่น้อยกว่า 2.40 เมตร ความยาวไม่น้อยกว่า 7 เมตร มีระยะ ความสูงไม่น้อยกว่า 2.85 เมตร และมี ทางเดินจากลิฟต์ดับเพลิงหรือทาง ปล่อยออกจากทางหนีไฟไปสู่พ้ืนท่ี สําาหรับรถพยาบาลหรือรถปฏิบัติการ ฉุกเฉิน ในระยะห่างไม่เกิน 60 เมตร เม่ือวัดตามแนวทางเดิน เจ้าของอาคารหรือผู้ครอบครองอาคาร ต้องการดูแลพ้ืนท่ีส่วนดังกล่าวเพ่ือ ให้รถดับเพลิง รถพยาบาลหรือรถปฏิบัติ
การฉุกเฉินสามารถเข้าถึงได้สะดวก ตลอดเวลา โดยไม่มีสิ่งกีดขวาง
ในสว่ นทเ่ีกย่ี วขอ้ ง
กบั ความปลอดภยั อน่ื ๆ
ตามขอ้ 29/2 อาคารสาธารณะทเ่ี ปน็ อาคาร สงู หรอื อาคารขนาดใหญพ่ เิ ศษอาคารจะตอ้ ง จัดเตรียมพ้ืนท่ี พร้อมตําาแหน่งสําาหรับการ ตดิ ตง้ั เครอ่ื งฟน้ื คนื คลน่ื หวั ใจดว้ ยไฟฟ้าแบบ อัตโนมัติ (Automated ExternalDefibrillator : AED)
โดยรายละเอียดของเคร่ืองฟ้ืนคืนคล่ืน
ISSUE4•VOLUME28
F E B R U A R Y - A P R I L 2 0 2 2                  69 
          















































   67   68   69   70   71