Page 102 - รวมคัมภีร์อัคคีภัย
P. 102
คั ม ภี ร์ อั ค คี ภั ย
สรุป หลัก 3E สั้นๆ ให้จําไว้ก็คือ
ออกแบบจัดทํา เก็บงําควมรู้ ดูแล แก้ไข ปลอดภัยแน่นอน จากหัวเร่ืองท่ีเป็นคําาถามว่า มาตรการ•มาตรฐาน•กฏหมายความ
ปลอดภัย...มีไว้ทําาไม ? ขอตอบตรงน้ีเลยนะครับ ว่า มีที่มาจากหลัก 3E Safety น่ียังไงครับ...
E-Enforcement
ที่ขอขยายความอีกสักนิด ดังต่อไปน้ี
Enforcement เป็นคําานาม แปลว่า กร บังคับใช้
Enforcement is a subject that many leaders don’t like to talk about. It’s a subject that many associate with penalties, termination, and other uncomfortable consequences. Any society, organization, or team that does not enforce expected behaviors is bound to fail due to the chaos created by those who decide not to follow the expectations.
การบังคับใช้ เป็นประเด็นที่ผู้เป็นทีมนําาใน การปฏิบัติหลายคน “ไม่ชอบ” มันเป็นเรื่องที่มี ความเกย่ี วขอ้ งกบั คนจาํา นวนมากทม่ี กี รลงโทษ กรควบคุมควมประพฤติ และผลกระทบทาง สังคมในทางเสื่อมเสียอื่นๆ
สงั คม องคก์ ร หรอื หนว่ ยงนใด ทไ่ี มม่ กี าร ควบคุมพฤติกรรมท่ีจะนําาไปสู่ความปลอดภัย ตามท่ีคาดหวังไว้ จะประสบแต่ควมล้มเหลว
สรุปส้ันๆ เป็นการตอบคําาถามหัวเร่ืองเลย ก็ได้ว่า
มตรกร•มตรฐน•กฎหมยควม ปลอดภยั ....กม็ ไี วค้ วบคมุ ใหป้ ระชาชนพลเมอื ง มคี วามปลอดภยั อยา่ งแทจ้ รงิ โดยผา่ นการศกึ ษา (Education) หาความรู้จากผู้เช่ียวชาญ ผ่าน การออกแบบ ทดสอบ ทดลอง สรรสร้าง อย่าง รอบคอบ (engineering) แล้วจึงกําาหนดเป็น มาตรการที่ต้องปฏิบัติ หรือข้อห้ามที่ไม่ต้อง ปฏิบัติอย่างเคร่งครัด (enforcement) หาก
ละเมิดหรือละเว้นเป็นต้องเจอบทลงโทษ
จะขอยกตัวอย่างกฎหมายท่ีน่ารู้สัก 5 ข้อ ดังต่อไปนี้
พระรชบัญญัติป้องกันและระงับอัคคีภัย พ.ศ. 2542
หมวด 2 การระงับอัคคีภัย
มตร 23 ผู้ใดพบเพลิงเร่ิมไหม้ ให้แจ้ง ต่อเจ้าของผู้ครอบครอง หรือบุคคลซ่ึงได้รับ มอบหมายให้ดูแลรักษาอาคาร หรือสถานที่ที่ เป็นต้นเพลิง เพ่ือทําาการดับเพลิง ถ้าไม่ปรากฏ ตัวบุคคลดังกล่าว และเพลิงน้ันอยู่ในสภาพที่
เหตุ
ตวัอยา่งตอ่ไปคอื หมวด4บทกาําหนดโทษ มตร 32 ผู้ใดไม่ปฏิบัติตามมาตรา 23
ต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 500 บาท มตร35 ผู้ใดแจ้งเหตุหรือให้อาณัติ สัญญาณแจ้งเหตุเพลิงไหม้อันเป็นเท็จต้อง ระวางโทษจําาคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่
เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือท้ังจําาท้ังปรับ มตร36 ผู้ใดไม่มีอําานาจโดยชอบด้วย กฎหมาย ทําาลาย เคลื่อนย้าย กีดขวาง หรือ ทําาให้เกิดอุปสรรคต่อการใช้อาณัติสัญญาณ
ตนสามารถดับได้ ก็ให้ทําาการดับเพลิงนั้นทันที ถ้าเพลิงน้ันอยู่ในสภาพท่ีตนไม่สามารถดับได้ ใหร้ บี แจง้ ใหเ้ จา้ หนา้ ทต่ี ามมาตรา 15 ทราบโดย ดว่ น (ผเู้ ขยี น : มาตรา 15 คอื เจา้ หนา้ ทด่ี บั เพลงิ )
** เจตนรมณ์ของกฎหมยนี้คือ เพื่อให้
1. เพลิงถูกระงับโดยเร็ว โดยผู้ปฏิบัติ ปลอดภัย
2. ให้ประชาชนทุกคนทราบว่า “ทุกคน มีหน้าที่ท่ีจะต้องช่วยกันดูแลสาธารณภัย(ถ้า ทําาได้) จึงควรศึกษาเรียนรู้ วิธีการดับเพลิง"
3. ถา้ ไมส่ ามารถดบั ได้ จงึ ตอ้ งรวู้ ธิ กี ารแจง้
แจ้งเหตุเพลิงไหม้ เคร่ืองดับเพลิงหรือท่อส่งนํา้า ดับเพลิง ต้องระวางโทษจําาคุกไม่เกินสองปีหรือ ปรับไม่เกินสี่หมื่นบาท หรือท้ังจําาท้ังปรับ
ถ้าการกระทําาความผิดตามวรรคหนึ่งน่า จะเป็นเหตุให้เกิดอันตรายแก่บุคคลอ่นื ผ้กู ระทําา ต้องระวางโทษ จําาคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่ เกินหน่ึงแสนบาท หรือทั้งจําาท้ังปรับ
ท่นผู้อ่นครับ....เท่าท่ีผมมีประสบการณ์ มา ผู้คนในบ้านเมืองเรา ไม่ว่าผู้ใหญ่ระดับ บริหารองค์การ หรือระดับปฏิบัติการ น้อยคน
นกั ทจ่ี ะรแู้ ละเขา้ ใจกฎหมายเหลา่ น้ี อาจจะเปน็
16
ISSUE4.VOLUME27.FEBRUARY-APRIL2021