Page 106 - รวมคัมภีร์อัคคีภัย
P. 106

    คั ม ภี ร์ อั ค คี ภั ย
     บ้านข้างเคียงท่ีได้รับผลกระทบจําานวน 2 หลัง ซง่ึ ไดร้ บั ความเสยี หาย ในสว่ นของกาํา แพง หลงั คา และรั้วบ้าน เบ้ืองต้นทราบว่าเจ้าของบ้านต้น เพลิงจะเป็นผู้รับผิดชอบ
สําาหรับผู้เสียชีวิตและผู้บาดเจ็บทั้งหมด จะได้รับความช่วยเหลือจากเงินสงเคราะห์ผู้ ประสบภัย และ พ.ร.บ.สงเคราะห์ผู้ประสบภัย เน่ืองจากการช่วยเหลือราชการการปฏิบัติงาน ของชาติ หรือการปฏิบัติตามหน้าท่ีมนุษยธรรม พ.ศ. 2543 โดยกรุงเทพมหานครจะมอบให้แก่ ทายาท นายธนภพ ประไพ อายุ 44 ปี เจ้า หน้าที่ อปพร.นนทบุรี, นายสมัญญา นิลธง อายุ 48 ปี, นายอรรถพล ท้วมทอง อายุ 26 ปี,
นายสุทัศน์ เปลี่ยนกลัด อายุ 38 ปี ซึ่งเป็นเจ้า หน้าท่ี อปพร.เขตทวีวัฒนา เพ่ือนําาไปใช้ในการ จัดการศพและชดเชยในความสูญเสียต่อไป
แนวทางการป้องกันแก้ไข
ศ.ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสด์ิ นายกสภา วิศวกร กล่าวว่า สภาวิศวกรในฐานะหน่วย งานที่พร้อมให้บริการด้านวิชาการเพื่อแก้ไข ปัญหาด้านวิศวกรรม และกําากับดูแลมาตรฐาน ผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม พร้อมให้ การช่วยเหลือผ่านข้อเสนอใน 2 ด้านสําาคัญ เพื่อลดความสูญเสียที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต โดยถอดบทเรียนอย่างจริงจัง แนะหน่วยงาน ทุกภาคส่วนร่วมถอดบทเรียนอย่างจริงจังและ เป็นรูปธรรม
นอกจากน้ีให้ใช้ “บิ๊กด์าต้า” ช่วยวางแผน กู้ภัย เพราะจากข้อจําากัดด้านการเข้าถึง โครงสร้างอาคาร ทําาให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง วางแผนการทําางานหรือประเมินสถานการณ์ได้ ยาก ซึ่งเสี่ยงต่อความปลอดภัยและสวัสดิภาพ ของเจ้าหน้าที่ดับเพลิง โดยเฉพาะอาคารทั่ว กรุงที่มีอายุมากกว่า 20 ปีจําานวนมาก จึงควร เร่งเก็บเป็นบิ๊กดาต้าพร้อมกําาหนดเฉดสีใน 4 ระดับ เพื่อรองรับความเส่ียงท่ีอาจจะเกิดขึ้นใน อนาคต อาทิ
 สีเขียว กรณีมีแบบแปลนชัดเจน และ ไม่มีการต่อเติมหรือดัดแปลง
 สีเหลือง มีแบบแปลนชัดเจน แต่มี การต่อเติมเพิ่ม
 สีส้ม ไม่พบแบบแปลน แถมเป็น อาคารเก่า และ
 สีแดง ไม่พบแบบแปลน เป็นอาคาร เก่า และพบรอยแตกร้าว บาดลึกจําานวนมาก
สภาวิศวกรมีความยินดีที่จะสนับสนุนงาน กู้ภัยทุกประเภทแก่หน่วยงานที่สนใจ เพื่อ รองรับกับวิบัติภัยที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต
สําาหรับหลักการตรวจสอบตามหลัก “นิติ วิศวกรรม” หรือการพิสูจน์เหตุด้วยวิศวกรรม ในระดับสากลมี 4 ข้ันตอน
1. การออกแบบถูกต้องหรือไม่ จากการ คําานวณเชิงโครงสร้าง การวัดระยะห่างหรือ องศาต่างๆ
2. ก่อสร้างตามแบบหรือไม่ กรณีที่มีการ ลดคุณภาพวัสดุก่อสร้างที่อาจจะกระทบต่อ ความม่ันคงแข็งแรงของอาคาร
3. การใช้งานถูกประเภทหรือไม่ ในกรณี ที่ระบุในคําาขออนุญาตก่อสร้างอาคารจากที่พัก อาศัย แต่เป็นโรงงานที่อาจจะมีการติดตั้ง เครื่องจักรหรือถังนํา้าขนาดใหญ่ด้านบน จึง เสี่ยงต่อการเกิดอาคารทรุดตัวและ
4. มีแรงกระตุ้นอย่างไร ภัยพิบัติจาก ธรรมชาติ เช่น ฝนตก นํา้าท่วม หรือแผ่นดินไหว ไม่ว่าจะอยู่ที่ใดในโลก เหตุร้าย ภยันตราย ก็ สามารถเกิดขึ้นได้อย่างที่เราไม่อาจคาดฝันได้
เมื่อเราได้เรียนรู้จากบทเรียนในอดีตมา แลว้ ...ควรทเ่ีราจะไดห้ าหนทาง “ปอ้ งกนั ” กนั นะ ครับ...อย่าให้เกิดอีกเลย! “ป้องกันไม่ให้เกิด... คือ ส่ิงประเสริฐสุด”
      ส่วนตัวผู้เขียน
นายคณาทัต จันทร์ศิริ
ประธาน APFA & FARA Group of ASIA E-Mail : fara.kanathat@gmail.com
 ISSUE1•VOLUME28
MAY-JULY2021 19
               











































































   104   105   106   107   108