Page 21 - รวมคัมภีร์อัคคีภัย
P. 21

  คุณคณาทัต จันทร์ศิริ
              ท่านผู้อ่านครับ....
ผ่านฤดูไฟไหม้อย่างปลอดภัยมาแล้ว ตั้งแต่ พฤศจิกายน พ้นปีใหม่ ไล่มาตรุษจีน...โชคดี มีความ สุขกันถ้วนหน้านะครับ โดยเฉพาะทุกท่านที่รอดพ้น “อุ้งมืออัคคี” ที่เผาผลาญทั้งบ้านเรือน โรงงาน อุตสาหกรรม และน่าจะเป็น High Light ของปีนี้ คือ อาคารธนาคารไทยพาณิชย์ (SCB) ถนนรัชโยธิน ชั้น 10 อาคาร A ท่ีมีความเสียหายเล็กน้อย แต่เสียชื่อเสียงมาก และกลายเป็นเรื่องใหญ่ท่ีต้องตาม “ล้อมคอก” กันต่อไป เพราะอาสาเขตหลักสี่ อปพร. ครูเดชา ด้วงชนะ เสียชีวิตขณะปฏิบัติหน้าที่ใน การเข้าระงับเหตุ จึงเกิดข้อสงสัยกันทั้งบ้านท้ังเมืองว่า อาคารสูงที่ดูน่าจะปลอดภัย....ปลอดภัยจริง ม้ัย ? จะมีใครตายอีกม้ัย ? ใครล่ะจะรับผิดชอบ ?
ตั้งแต่เดือนนี้ไปถึงเมษายน คือหน้า P1 • Policy
กฎกระทรวง ที่มาตาม พรบ.SHE เช่น
ข้อ4 ถ้ามีลูกจ้างต้ังแต่ 10 คนข้ึนไป นายจ้างต้องจัดให้มีแผนป้องกันอัคคีภัย การ ดับเพลิง การอพยพหนีไฟและการบรรเทาทุกข์ ขอ้ 27 ท่บี อกว่านายจ้างต้องจัดให้ลูกจ้าง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 40 ของจําานวนลูกจ้างในแต่
ละหน่วยงาน (พื้นท่ี) ฝึกอบรมดับเพลิงข้ันต้น ข้อ 29-30 ทุกคนต้องฝึกซ้อมดับเพลิง และฝึกซ้อมอพยพหนีไฟ พร้อมกันอย่างน้อยปี
ละหน่ึงครั้ง
                                        ร้อนและแล้ง ซึ่งเป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิด อคั คภี ยั ขน้ั วกิ ฤตทิ เี ดยี ว.....มโี อกาสเกดิ ไฟไหม้ ได้ตั้งแต่ในเมืองจนถึงป่าเขาลําาเนาไพรเลย.... สรุปว่าน่ากลัวอีกแล้ว !!
ดังนั้น เรามาลองหาวิธีจัดการกับตัวเรา บ้านเรา บริษัทหรือโรงงานของเราให้รอดพ้น จากภัยพิบัติ โดยเฉพาะอัคคีภัยกันเถิด
ขั้นตอนการจัดการความ ปลอดภัย 4 ขั้นตอน (ห้วงเวลา)?
❍ ก่อนเกิดเหตุ
❍ ขณะเกิดเหตุ
❍ เม่ือเกิดเหตุไปแล้ว
❍ ค้นหาสาเหตุ ถ้ากําาหนดหัวข้อของขั้นตอนอย่างนี้...น่า
จะยาว พูดกันส้ันๆ อาจไม่เข้าใจ ก็ขออภัยที่ ต้องแบ่งข้อเขียนน้ีออกเป็น 4 ตอน จบภายใน ปีนี้แน่นอนนะครับ
● ตอนที่ 1 ก่อนเกิดเหตุ
ไมม่ ใี ครรวู้ า่ เหตวุ บิ ตั ภิ ยั จะเกดิ ขน้ึ เมอ่ื ไหร่ ไม่ว่า ปล้นจ้ี อัคคีภัย แผ่นดินไหว ตึกถล่ม เรอื ลม่ นาํา้ ทว่ ม รว่ มกอ่ การรา้ ย ภยั สารพษิ ดงั นน้ั เราจึงต้องเตรียมการให้ดี โดยใช้หลัก 4P (สี่พี)
P2 • Personal
P3 • Place & Equipment P4 • Practice & Knowledge
โดยมีกฎหมายเป็นมาตรฐาน คอย กําากับแนวนโยบาย?
P1 • Policy
การกําาหนดนโยบายและแผน มาตรการ กฎระเบียบ ข้อแนะนําา ข้อห้าม วิธีปฏิบัติ ให้ กําาหนดเป็นลายลักษณ์อักษร มีผู้สั่งการ และ ผู้รับไปปฏิบัติ โดยเฉพาะอย่างย่ิง นโยบาย และแผนน้ี ต้องมีมาตรฐานในการจัดการด้าน ความปลอดภยั ฯ ในหนว่ ยงานของตน ไมต่ าํา่ กวา่ ที่กําาหนดไว้ในพระราชบัญญัติความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทําางาน พ.ศ. 2554 (ต่อไปน้ีจะเรียกว่า พรบ.SHE ซึ่ง ย่อมาจาก Safety ปลอดภัย Health อนามัย Environment สภาพแวดล้อม)
P2 • Personnel
การกาํา หนดบคุ ลากรรบั ผดิ ชอบตามนโยบาย
และแผน โดยมีคําาส่ังแต่งตั้งมอบหมายเป็นราย บคุ คล ระบชุ อ่ื -นามสกลุ ตาํา แหนง่ งาน ตาํา แหนง่ และหน้าที่เมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน และมีกฎหมาย ที่กําาหนดรายละเอียดไว้อีกเหมือนกัน คือ
ที่สําาคัญ ผมว่าน้อยคนนักที่จะรู้และปฏิบัติตาม คือ กฎกระทรวงข้อท่ี 17 ที่กําาหนดไว้ว่า สถาน ประกอบการที่มีความเส่ียงต่อการเกิดอัคคีภัย อยา่ งปานกลางถงึ รา้ ยแรง ใหน้ ายจา้ งจดั ลกู จา้ ง เพื่อทําาหน้าที่ “ดับเพลิง” ประจําาอยู่ตลอด เวลาที่มีการทําางาน
ตรงน้ี ผมเหน็ ดว้ ยเปน็ อยา่ งยง่ิ ถา้ เรามอบหมาย ให้ปฏิบัติตามกฎหมายดังกล่าวนี้ ก็จะมีคนรู้ หน้าท่ีว่าต้องจัดการอย่างไรเม่ือเกิดเหตุ ซ่ึงแน่ นอนต้องได้รับการฝึกฝนจนปฏิบัติการได้อย่าง ดีและปลอดภัย ถ้าตึก SCB มีทีมดับเพลิงของ ตวั เองตามกฎหมาย ผมวา่ ทมี ดบั เพลงิ ภายนอก คงจะไม่หลงทางจนเสียชีวิตเป็นแน่แท้ (หมายเหตผุ เู้ ขยี น : ผม โดยสมาคมการดบั เพลงิ และ ช่วยชีวิต FARA อาสาให้ข้อแนะนําาโดยไม่ขอรับค่า ตอบแทนครับ)
P3 • Place & Equipment อาคาร-สถานที่และอุปกรณ์ การกําาหนด
พน้ืท่ีสถานท่ีอาคารโครงสรา้งกายภาพตา่งๆ ใหป้ ลอดภยั ซง่ึ มกี ฎหมายควบคมุ อยู่ เชน่ ตอ้ ง มีทางหนีไฟจากส่วนต่างๆ ของบริษัท หรือ โรงงาน ซึ่งสามารถใช้ได้ทันทีเม่ือมีเหตุฉุกเฉิน รวมทง้ั การจดั เตรยี มอปุ กรณ์ และระบบปอ้ งกนั และระงับอัคคีภัยและภัยพิบัติ เพื่อให้ง่ายต่อ
  ISSUE4.VOLUME21.FEBRUARY-APRIL2015
15
                   ี
ภ
ม
ั
ร
์
อ
ค
ั
ค
ค
ี
ภ
ั
ย
  
























































   19   20   21   22   23