Page 30 - รวมคัมภีร์อัคคีภัย
P. 30

  ท่านท่ีเคารพครับ! ผมไม่ใช่เป็นคนที่นิยมซื้อความปลอดภัย และชีวิต ดว้ ยเงนิ ตรา เพราะรวู้ า่ ประเทศชาตเิ รายงั จนอยู่ และอปุ กรณป์ อ้ งกนั และระงบั อคั คภี ยั บางอยา่ ง ตอ้ งนาํา เขา้ จากตา่ ง
ประเทศ ซึ่งราคาแพงมาก
แตท่ น่ี าํา เสนออปุ กรณ์ และระบบ ความปลอดภัยในประเทศเกาหลี ก็เพื่อเพ่ิมวิสัยทัศน์ให้ท่านผู้อ่าน บางท่านเท่านั้น จะได้ทราบว่าบ้าน เมืองอื่นเขาลงทุนอะไรให้กับคน ของเขาบ้าง...ซ่ึงจะสะท้อนภาพอัน ชดัเจนของมลูคา่ราคาคนต่อหัวต่อ ตัว หรือต่อศพเลยทีเดียว
คตินิยมของผม คือ “คนนําาเครื่อง”
คนมีความรู้ ความคิด และจิตสําานึกในเรื่อง ความปลอดภัย
ดีกว่ามีอุปกรณ์ทันสมัย ราคาแพงจําานวน มาก แต่ขาดความรู้
......แต่ปัญหามันมาอยู่ที่...บ้านเรามันขาด ทั้งเครื่องมือ และคนมีความรู้นะสิครับ !...มันถึงยุ่ง แถมคนที่ไม่มีความรู้ ก็
ไม่ใคร่ท่ีจะหาความรู้ใส่ตัว ทั้งๆท่ีเป็นเรื่องความปลอดภัยของตัวเองแท้ๆ ที่สําาคัญท่ีสุดในทริปน้ันก็คือ การไปเยี่ยมชม SEOUL CIVIL SAFETY EXPERIENCE CENTER (ศูนย์สร้างเสริมประสบการณ์ความปลอดภัยกรุงโซล) ซึ่งเป็นจุดสนใจท่ีสุดท่ีคณะของเราประทับใจ ท่ีนี่รัฐบาลประเทศเกาหลีได้จัด สร้างขึ้นมา ไม่น่าเกิน 10 ปี ผมเคยไปเยือนก่อนหน้าน้ี 2-3 ครั้ง เป็นสถาน
ที่จําาลองการฝึกและเสริมสร้างประสบการณ์ในเหตุภัยพิบัติต่างๆ อาทิ
♦ ห้องพายุ ที่จะจําาลองลมพายุที่มีความเร็วสูงมากถึง 100 กิโลเมตร ตอ่ ชว่ั โมง โดยใหผ้ เู้ ยย่ี มชมเดนิ เกาะราวเหลก็ เดนิ เขา้ ไปในพายจุ าํา ลอง หลายๆ
คนท่ีตัวเล็กๆ ถึงกับปลิว เดินไม่เป็นเลยครับ !
♦ หอ้ งจาํา ลองความมดื และควนั ทใ่ี หผ้ เู้ ยย่ี มชมทง้ั เดก็ และผใู้ หญ่ รจู้ กั
คลาน หรือปีนป่ายไปตามช่องที่จัดไว้ โดยสมมุติว่ากําาลังหนีจากอาคารที่ถูก เพลิงไหม้ ซึ่งก่อนเข้าห้องนี้ หรือทุกๆ ห้องจะมีครูมาแนะนําาวิธีที่ปลอดภัยให้ และขณะที่อยู่ในห้องน้ี จะมีกล้องวงจรปิดติดตามดูผู้เย่ียมชมตลอดเวลา
♦ ห้องจําาลองแผ่นดินไหว ที่สามารถเขย่าห้องที่สมมุติเป็นบ้านพัก อาศัย ได้รุนแรงสมจริง และให้ปฏิบัติตามขั้นตอน คือ
› จะต้องตัดกระแสไฟฟ้า
› จะต้องตัดแก๊สหุงต้ม
› จะต้องเปิดประตูไว้ (ไม่ใช่ปิด เพราะถ้าโครงสร้างถล่ม จะต้อง
มีทางออกได้)
› จะตอ้ งปกปอ้ งศรษี ะ (อาจหลบใตโ้ ตะ๊ ทแ่ี ขง็ แรง หรอื อยบู่ รเิ วณ
สามเหล่ียมปลอดภัย)
แบ่งหน้าท่ีกันทําาส่ิงเหล่านี้ ถ้ามีหลายคน และยังมี
♦ ห้องฝึกการใช้เคร่ืองดับเพลิง
♦ ห้องฝึกการปฐมพยาบาล
♦ ห้องเรียนความปลอดภัยสําาหรับเด็กๆ ท่านผู้อ่านครับ...แบบน้ีผมยังไม่เห็นมีในประเทศเรา และเป็นสิ่งสุด
ท้ายที่ผมและสมาคมฯ FARA อยากทําาที่สุดเลยครับ ผมเคยได้ยินชาวต่างชาติพูดถึงคนไทยเสียๆ หายๆ มาแยะ ซึ่งทําาให้
เลือดไทยมันเดือดปุดปุดทุกที... เช่นเขาว่า...
“โถ คนไทยนะหรือ...ตัวเองยังไม่รักเลย นับประสาอะไรจะบอกว่ารัก คนอื่น เชอะ ! ใครจะเชื่อ”
“ไม่สนใจความปลอดภัย ต้ังแต่ ตัวของตัว จนถึงคนในครอบครัว ใน บ้านไม่รู้จักป้องกันไฟไหม้ด้วยเคร่ือง ดับเพลิง แม้มีอยู่บ้าง ก็ใช้ไม่เป็น... อย่างนี้ใครอยากมาลงทุนทําาธุรกิจ ด้วย...”
ทําาไมผมถึงต้องทําา “โครงการ เด็กดับไฟ” ?
ทําาไมผมถึงอุทิศชีวิตทําางานเผยแพร่ความรู้ด้าน การดับเพลิงและช่วยชีวิต...ไม่คิดเงินมาเกือบ 20 ปีน้ี แล้ว ?
ทําาไมผมถึงก่อต้ัง “สมาคมการดับเพลิงและ
ช่วยชีวิต FARA” และกําาลังจะก่อตั้งโรงเรียนการบรรเทาสาธารณภัย FARA
ท่านมีคําาตอบในใจบ้างไหมล่ะครับ ?
และทา่ นวา่ คาํา ตอบนน้ั เปน็ สาเหตแุ หง่ ความไมป่ ลอดภยั หรอื เปลา่ ครบั ? ............................................................................................. ............................................................................................. ทบทวนขั้นตอนการจัดการความปลอดภัย 4 ขั้นตอน
    1. ก่อนเกิดเหตุ
2. ขณะเกิดเหตุ
3. เมื่อเกิดเหตุไปแล้ว
4. ค้นหาสาเหตุ ขอจบลงที่ฉบับน้ีครับ...
  18
ISSUE4.VOLUME22.FEBRUARY-APRIL2016
ส่วนตัวผู้เขียน
ฉบับที่ 4 ปี 21
ฉบับที่ 1 ปี 22 และฉบับที่ 2 ปี 22 ฉบับที่ 3 ปี 22
    นายคณาทัต จันทร์ศิริ
ประธาน สมาคมการดับเพลิงและช่วยชีวิต FARA และสมาพันธ์การช่วยชีวิต ดับ เพลิง และกู้ภัยแห่งเอเซีย
                  ย
ค
ั
ั
ภ
ี
ค
ม
ค
ั
ภ
ี
ร
์
อ













































   28   29   30   31   32