Page 54 - รวมคัมภีร์อัคคีภัย
P. 54
เหตุเพลิงไหม้อาคารสูงที่เกิดขึ้นแต่ละครั้ง สร้างความสูญเสียอย่าง ที่ท่านคิดไม่ถึงเลยครับ...เราลองมาดูเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเมื่อไม่นานนี้ซัก 2-3 รายก็ได้ครับ
1. เหตุไฟไหม้อาคาร Grenfell Tower ในกรุงลอนดอนประเทศอัง กฤษเมื่อวันที่ 18 มิถุนายน 2560 เป็นอาคารสูง 24 ชั้น เพื่อพักอาศัย มีรายงานว่าผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บกว่าร้อยคน ต้นเพลิงเกิดจากตู้เย็น ระเบิดบนชั้น 4 ...ไฟลุกลามรวดเร็วเพราะวัสดุที่บุผนัง สามารถติดไฟได้
2. ไฟไหม้อพาร์ทเม้นท์ย่านบร๊องซ์ กลางกรุงนิวยอร์ก ประเทศ สหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2560 เป็นอาคารสูง 5 ชั้น มีผู้ เสียชีวิต 12 คน บาดเจ็บจําานวนมาก สันนิษฐานว่าสาเหตุเพลิงไหม้เกิด จาก “ฮีทเตอร์” เกิดระเบิดขึ้นในชั้น 4
3. ไฟไหม้โรงพยาบาลเซจองอาคารสูง6ชั้นตั้งอยู่ทางตะวันออก เฉียงใต้ของเกาหลีใต้ เมืองมีรยาง (Miryang) เมื่อเวลา 07.30 น. ของ วันที่ 26 มกราคม 2561 มีผู้เสียชีวิต 41 คนและบาดเจ็บกว่าร้อยคน ต้นเพลิงมาจากห้องฉุกเฉินช้ันล่างของอาคาร
น่ีเป็นเหตุการณ์ล่าสุดในโลกใบนี้ ท่ีเกิดขึ้นกับอาคารสูง ท่านผู้อ่าน ท่ีอยู่อาคารสูง รู้สึกอย่างไรล่ะครับ...กลัวบ้างมั้ย ? แต่ความกลัวอย่าง เดียวก็คงไม่พอที่จะจัดการซักซ้อม...หนีไฟได้ !
จึงต้องหันมาดูกฎหมายกันหน่อยครับ...
กฎหมายท่ีเกี่ยวข้องความปลอดภัยท่ีค่อนข้างทันสมัยท่ีสุดก็คือ
“พระราชบัญญัติความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมใน การทําางานพุทธศักราช 2554”
...ในกฏกระทรวง กําาหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และ ดําาเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ ทําางาน เก่ียวกับการป้องกันและระงับอัคคีภัย พ.ศ.2555 (เล่ม 130 ตอน ที่ 2 ก ราชกิจจานุเบกษา 9 มกราคม 2555)
หมวด 1 บททั่วไป ข้อ 4 ในสถานประกอบกิจการที่มีลูกจ้างตั้งแต่ 10 คนข้ึนไป นอกจากต้องปฏิบัติตามข้อ 3 แล้วให้นายจ้างจัดให้มีแผน ปอ้ งกนั และระงบั อคั คภี ยั ประกอบดว้ ยการตรวจตรา การอบรม การรณรงค์ ป้องกันอัคคีภัย การดับเพลิง การอพยพหนีไฟ และการบรรเทาทุกข์...ฯ
ถึงขนาดนี้แล้วคงต้อง “ซ้อม” แล้วล่ะครับ ผมจึงขอแนะนําาท่านจะผู้อ่านที่ต้องการซ้อมแผนฉุกเฉิน ดังต่อไปน้ี ข้ันตอนมาตรฐานการซ้อมแผนฉุกเฉิน (Evacuation Drill) ก็มี 4 ข้ัน
ตอนท่ีเรียกว่า MFTF Model M - Mapping
1. การวางแผน ซึ่งจะต้องกําาหนดหน้าที่ใน 6 ทีม และจัดบุคลากร ลงไปในหน้าที่ต่างๆ
2. กําาหนดว่าจะซ้อมเหตุฉุกเฉินประเภทใด เช่น ไฟไหม้, แผ่นดิน ไหว, นํา้าท่วมรุนแรง ฯลฯ
3. กําาหนดเหตุการณ์ตามความเป็นไปได้ ตั้งแต่ต้นจนจบ
4. กําาหนดพ้ืนท่ี ท่ีใช้ในการฝึกซ้อม
F - Functional
ฝึกซ้อมตามภารกิจของแต่ละทีม เช่น
• ทีมเช็คชีวิต-ติดต่อ : ฝึกยกการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย ผู้บาดเจ็บ,
การใช้เปลหาม Soft Stretcher
• ทีมเผชิญเหตุ-ดับเพลิงและกู้ภัย : ซ้อมการนําาคนลงรอกหนีไฟ
ดับเพลิง, การใช้สายส่งน้ําาดับเพลิง เป็นต้น
• ทีมเคลื่อนย้ายทรัพย์สิน-กู้ชีพ : ฝึกการปฐมพยาบาล การช่วย
ฟื้นคืนชีพ CPR • ฯลฯ
T - Table Top
ซอ้ มปฏบิ ตั กิ ารเหมอื นจรงิ ในทจ่ี าํา กดั เชน่ ในหอ้ งประชมุ และดาํา เนนิ การซ้อม ตามเหตุการณ์สมมุติ โดยบุคลากรท่ีกําาหนดไว้แล้ว ปฏิบัติ ตามที่ Function อาจเรียกการซ้อมลักษณะน้ีว่า การซ้อมบนโต๊ะ
F - Field Exercise
คือ การขยายการซ้อมออกไปสู่สถานท่ีจริง โดยกําาหนดให้มีผู้ ประเมินในทุกๆ พ้ืนท่ี ที่มีปฏิบัติการ
หลงั จากซอ้ มเสรจ็ 1 รอบ จะตอ้ งนาํา ผซู้ อ้ มทกุ ทา่ นมาฟงั การประเมนิ จากผปู้ ระเมนิ และนาํา ไปปรบั ปรงุ แกไ้ ขในรอบตอ่ ๆ ไป ทง้ั นต้ี อ้ งมผี ปู้ ระเมนิ ไม่ต่ําากว่า 8 คน ประเมินในแต่ละทีม และควรซ้อมไม่ตํา่ากว่า 5 รอบ
ขั้นตอน Mapping เป็นข้ันตอนแรกท่ีสําาคัญท่ีสุด ถ้าท่านวางแผน ได้ดี ละเอียดละออ มีเหตุการณ์สมมติที่สมจริงสมจัง การซ้อมก็จะมี ประโยชน์มาก เพราะ “การซ้อมแผนฉุกเฉิน คือการค้นหาปัญหาเพ่ือนําา ไปสู่กระบวนการการแก้ไข”
สําาหรับการจัดวางบุคลากรตามแผนฉุกเฉิน ก็ไม่ต้องแบ่งกลุ่มให้ยิบ ย่อยมากมาย สําาหรับองค์กรหรืออาคารท่ีมีเจ้าหน้าที่ไม่มากตั้งแต่ 20 คนขึ้นไปถึง 5,000 แบ่งออกเป็น 6 ทีมก็พอ คือ
ทีมบัญชาการ มีหน้าที่ ใช้แผนฉุกเฉิน, ประกาศเลิกแผน, แก้ไข สถานการณ์, ควบคุมการปฏิบัติงาน, สอบสวนสาเหตุ, อนุมัติค่าใช้จ่าย, เป็นประธานในการแถลงข่าว
ISSUE4.VOLUME24.FEBRUARY-APRIL2018
19
ย
ค
ั
ั
ภ
ี
ค
ม
ค
ั
ภ
ี
ร
์
อ