Page 32 - TEMCA Magazine 2/28
P. 32

    ประวัติส่วนตัว ทุกครั้งท่ีเกิดวิกฤตในประเทศจะคิดหา
ปัจจุบันในขณะนั้น มาทําาโครงการ “คทาตรวจ ไฟรั่ว” ที่ได้รับการยอมรับในประเทศเป็นอย่าง มาก และมีการแนะนําาผ่านสื่อต่างๆ จําานวน มากมาย
ท่ีมาของนวัตกรรม ตู้ความดันลบ สู้ภัยโควิด
สืบเนื่องจากการระบาดของ โควิด19 ใน ประเทศไทย ต้ังแต่เดือนมีนาคม 2563 คณะ วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา ซึ่งเป็น มหาวิทยาลัยที่มีพันธกิจ ในการบริการสังคม ในภาคตะวันออกของประเทศไทย ได้เล็งเห็น ว่าการเกิดขึ้นของโรคติดเช้ือทางเดินหายใจ ซ่ึง เปน็ โรคอบุ ตั ใิ หม่ยงั ไมม่ ยี าหรอื วคั ซนี ทใ่ี ชใ้ นการ รบั มอื น้ี เป็นโรคท่ตี ้องทําาการรักษาในห้องความ ดันลบ ซึ่งในขณะน้ันจะมีเพียงในโรงพยาบาล ใหญๆ่ และมเี พยี งไมก่ ห่ี อ้ งซงึ่ ไมเ่ พยี งพอตอ่ การ รับคนไข้ท่ีติดเช้ือเข้ารับการรักษา และส่งผลให้ บุคลากรทางการแพทย์ได้รับความเสี่ยงใน การทําาการรักษา ส่งผลให้ทรัพยากรท่ีจําาเป็น ที่ต้องใช้ในการรับมือในโรงพยาบาลต่างๆ มี อยา่ งจาํา กดั การสนบั สนนุ การจดั ทาํา หอ้ งความดนั ลบ ซ่ึงมีราคาในการก่อสร้างสูงและใช้เวลา ในการดําาเนินการค่อนข้างมาก ทําาให้ไม่ทันต่อ การรองรับจําานวนผู้ป่วยที่มีการติดเช้ือมากขึ้น
ด้วยการส่งเสริมจากทางคณะวิศวกรรม ศาสตร์ในการนําาองค์ความรู้มาใช้ในการวิจัย
ปัจจุบันเป็นอาจารย์คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา เป็นอาจารย์มาแล้ว 23 ปี จบ วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต สาขาวิศวกรรม เครื่องกล เกียรตินิยมอันดับสอง จากสถาบัน เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี จบปริญญาโท ด้านวิศวกรรมพลังงาน ด้านนโยบายพลังงาน จาก สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย (AIT) และ ปริญญาเอกด้านนโยบายพลังงาน จากบัณฑิต วิทยาลัยร่วมด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม (Joint Graduate School of Energy and Environment) มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยพี ระจอม เกล้าธนบุรี ซึ่งเป็นหลักสูตรนานาชาติ ท่ีเรียน และทําาวิจัยด้านการวางแผนนโยบายพลังงาน ณ สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร (SIIT)
ในการเลือกสาขาท่ีเรียน รวมท้ังหัวข้อวิจัย หรือบริการวิชาการแก่สังคม จะเน้นทําางานที่ สามารถทําาแล้วให้เกิดผลลัพธ์ที่สามารถนําาไป พัฒนาและเกิดประโยชน์ต่อมนุษย์และสังคม ได้มากที่สุด
ก่อนมาเป็นอาจารย์มหาวิทยาลัยบูรพา เคยทําางานเป็นวิศวกรฝ่ายจัดหาในเครือซิเมนต์ ไทย วิศวกรโครงการฝ่ายวางแผน บริษัท ESSO standards Thailand วิศวกรโครงการด้านพลัง งานในกลุ่มบริษัททีมคอนซัลติ้งเอนจิเนียร์ ชอบ ทําางานกิจกรรมช่วยเหลือสังคมมาตั้งแต่สมัย เรียน ออกค่ายอาสาพัฒนาชนบท
ทางนําาความรู้ทางวิศวกรรมท่ีมีมาใช้ให้เกิด ประโยชน์ ประสานความรู้ ความร่วมมือจาก ทุกๆ ฝ่าย และจิตใจที่ดีของประชาชนคนไทย ที่ชอบช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ คิดค้นวิธีการที่จะ นําาปรารถนาดีส่งผ่านงานทางวิศวกรรม ไปส่ง ถึงมือของผู้ที่ต้องการรับความช่วยเหลือ โดย ใช้ทรัพยากรท่ีมีอยู่อย่างคุ้มค่า ประหยัด ปลอดภัย ใช้ความรู้อย่างรอบคอบ รวดเร็ว และทันการณ์
ในวิกฤตน้ําาท่วมใหญ่ปี 2554 ได้เห็นลูก ศิษย์รวมตัวกันออกไปช่วยนํา้าท่วม นําาอาหาร และนํา้าไปแจกจ่ายชาวบ้านในน้ําาท่วม และด้วย ความท่ีเป็นวิศวกรชาวคณะวิศวกรรมศาสตร์ได้ ทําาอุปกรณ์เช็คไฟรั่วในนํา้าไปใช้ในการออกไป ช่วยชาวบ้านกัน
ด้วยความกังวลในอันตรายจากไฟฟ้ารั่วท่ี อาจจะเกิดได้กับประชาชนและทีมกู้ภัย เมื่อ เกิดน้ําาท่วมในวันแรกๆ ของทุกพื้นที่ ท่ีจะมีคน เสียชีวิตจากไฟรั่วในนํา้าท่วม ได้ชักชวนลูกศิษย์ ให้นําาความรู้มาใช้ในการพัฒนาอุปกรณ์ตรวจ ไฟร่ัวและทําาการผลิตให้มีจําานวนท่ีมากเพ่ือ แจกจ่ายไปยังประชาชนและทีมกู้ภัยต่างๆ เพ่ือ ใช้ในการตรวจสอบไฟร่ัวก่อนท่ีจะลงไปในนํา้า เพื่อป้องกันอันตรายถึงชีวิต โดยทําาการระดม ทนุ รบั การสนบั สนนุ ดา้ นวสั ดแุ ละทนุ ในการผลติ ระดมกําาลังจิตอาสาท้ังจากศิษย์เก่าศิษย์
ชุ ม ช น ช่ า ง เ ห ม า
      ISSUE2•VOLUME28  32                    A U G U S T - O C T O B E R 2 0 2 1
      





















































































   30   31   32   33   34