Page 50 - TEMCA MAGAZINE ฉบับที่ 1 ปีที่ 28
P. 50

                                    เ ล่ า สู่ กั น ฟั ง
     ผู้เขียนขอแนะนําาอีกทางเลือกหนึ่งในการหาขนาดแรงดันตกจาก หนังสือ “คู่มือการกําาหนดขนาดสายไฟฟ้าตามมาตรฐานใหม่” ของ TEMCA หน้า 12-13 ตามรูปที่ 6 นําามาวิเคราะห์หาแรงดันตกด้วยวิธีการ ประมาณค่าดังนี้
• จากจุดAไปจุดB(หน้า12)ที่ขนาดCB(A)ขนาด800A3 เฟส เลือก 2 เส้นต่อเฟส ของขนาดสายขนาด 240 sq.mm. จัก เห็นว่าที่แรงดันตก 3% ได้ระยะ 120 m แล 5% ได้ระยะ 200 m ดังนี้แล้วท่ีระยะ 25 m จึงมีแรงดันตก 0.625%
• จากจุดBไปจุดC(หน้า12)ท่ีขนาดCB(A)ขนาด320A3 เฟส เลือก 1 เส้นต่อเฟส ของขนาดสายขนาด 150 sq.mm. จัก เห็นว่าท่ีแรงดันตก 3% ได้ระยะ 110 m แล 5% ได้ระยะ 184 m ดังน้ีแล้วท่ีระยะ 100 m จึงมีแรงดันตก 2.73%
• จากจุดCไปจุดD(หน้า28)ท่ีขนาดCB(A)ขนาด63A3 เฟส เลือก 1 เส้นต่อเฟส ของขนาดสายขนาด 25 sq.mm. จัก เห็นว่าท่ีแรงดันตก 3% ได้ระยะ 125 m แล 5% ได้ระยะ 209 m ดังนี้แล้วท่ีระยะ 50 m จึงมีแรงดันตก 1.22%
• จากจุดDไปจุดE(หน้า28)ที่ขนาดCB(A)ขนาด32A1 เฟส เลือก 1 เส้นต่อเฟส ของขนาดสายขนาด 6 sq.mm. จัก เห็นว่าที่แรงดันตก 3% ได้ระยะ 30 m แล 5% ได้ระยะ 49 m ดังน้ีแล้วท่ีระยะ 20 m จึงมีแรงดันตก 1.95%
เมื่อคําานวณตามท่ีกําาหนดตาม BS 7671 ให้คําานวณจากจุด A จนถึง จุด D ได้เท่ากับ 0.625 + 2.73 + 1.22 = 4.58% เม่ือเทียบกับวิธีคําานวณ จากค่า r แล x ซ่ึงคําานวณได้ 4.53% ทําาให้วิธีคําานวณด้วยตารางนี้มีค่า สูงกว่าไม่มาก เป็นอีกวิธีหนึ่งที่ใช้งานได้ง่าย ดังนั้นในการคําานวณด้วย วิธีตารางแสดงขนาดของแรงดันตก (ตามรูปที่ 6) ที่ครอบคลุมขนาด แรงดันที่สูงกว่า ดังนั้น การคําานวณด้วยวิธีแรงดันตกโดยตรง จึงแนะนําา ว่าใช้วิธีที่ง่ายกว่าที่แสดงในรูปที่ 5 ในขณะที่จากจุด D ไปยังจุด E นั้น คําานวณได้ 1.95% ซึ่งค่านั้นแตกต่างจากการคําานวณด้วยวิธี r แล x คําานวณได้ 2.05% สามารถใช้งานได้ดีมากทีเดียว
ที่สุดก็เดินทงมถึงบรรทัดสุดท้ยจนได้ ผู้เขียนยอมรับว่ งน เขียนนี้ใช้พลังอย่งมก ด้วยต้องเชื่อมโยงมกมย แลกรจัดรูป ประกอบทั้งหมดซับซ้อน ส่วนผู้อ่นจักเข้ถึงได้อย่งไรมกน้อยเพียงไร ผู้เขียนหวังย่ิงให้ได้มองเห็นควมสัมพันธ์เช่ือมโยงได้ ก่อนจบขอเสนอ แนวคิดเกี่ยวกับกรหค่impedanceท่ีสมรถนําไปใช้ในกรคํานวณ ค่แรงดันตกด้วยเครื่องมือคือ กรใช้ earth fault loop impedance ที่นํามวัดค่ควมต้นทนท่ีสยเฟส แลนิวทรัลใน final circuit จัก เป็นกรวัดค่ควมต้นทน จนกระทั่งถึงหม้อแปลงไฟฟ้ซึ่งเป็นกร วัดค่ควมต้นทนตมแนวทงของ BS ที่ทําให้ได้ค่สูงกว่ของ วสท. แต่โดยทั่วไปแล้วระยะทงจกหม้อแปลงไฟฟ้มจนถึงแผงเมนไฟฟ้ (MDB) จักมีระยะไม่มก จึงน่จักสมรถนํามเป็นตัวแทนได้ด้วย เคร่ืองมือ เป็นกร cross check ผลกรคํานวณของเรเอง ผู้เขียนหวัง ว่จักพอใช้เพ่ือกรศึกษทําควมเข้ใจได้บ้ง หกมีสิ่งไม่ถูกต้อง ขดตกบกพร่อง แลมีประเด็นข้อสงสัยใดสมรถส่งคําถมมได้ท่ี สมคมช่ งเหมไฟฟ้ และเครอ่ื งกลไทย
แลขอทุกท่านมีความสุขที่ได้เสพงานเขียนน้ีสําาหรับทุกท่าน นะครับ...
ส่วนตัวผู้เขียน
นยสุวิทย์ ศรีสุข วิศวกรไฟฟ้า-ที่ปรึกษาอิสระ
กรศึกษ
• ปริญญาตรี-วิศวกรรมศาสตร์ ไฟฟ้ากําาลัง สถาบันเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี • ปริญญาโท-วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยศรีปทุม บางเขน ประสบกรณ์ • ทําางานกว่า 31 ปี งานด้านไฟฟ้ากําาลัง
    ISSUE1•VOLUME28 50 MAY-JULY2021
               




















































































   48   49   50   51   52