Page 11 - ดนตรี-นาฏศิลป์ ม 1
P. 11
ตัวอย่าง บรรทัด ๕ เส้น ๕ เส้น
บรรทัด
เส้นน้อย
๔ ช่องบรรทัด
เส้นที่อยู่ตํา่านับจากด้านล่างลงไป เสียงตัวโน้ตจะเป็นเสียงที่ตํา่า บรรทัด ๕ เส้นจะมีกุญแจ ประจําาหลักซอล ( ) ที่ทําาให้ตัวโน้ตของกุญแจประจําาหลักนี้มีเสียงปานกลางถึงเสียงสูง ส่วนกุญแจ ประจําาหลักฟา ( ) หรือเรียกเต็ม ๆ ว่าฟาเบสจะทําาให้โน้ตในกุญแจประจําาหลักฟานี้มีเสียงตํา่า ถึงตํา่าที่สุด
คําาถามท้าทาย นักเรียนคิดว่าถ้าการบันทึกโน้ตไม่มีบรรทัด ๕ เส้น จะเป็นอย่างไร ๒. เส้นน้อย
การบันทึกโน้ตโดยทั่วไปจะใช้กุญแจซอล ( ) เป็นหลัก การบันทึกตัวโน้ตที่มีเสียงสูง-ตํา่าเกิน บรรทัด ๕ เส้น จะใช้วิธีการขีดเส้นสั้น ๆ เฉพาะตัวโน้ตที่จะบันทึกเท่านั้น ถ้าตัวโน้ตนั้นมีเสียง สูงกว่าบรรทัด ๕ เส้น จะใช้ขีดเส้นสั้น ๆ เหนือบรรทัด ๕ เส้น แต่ถ้ามีเสียงตํา่ากว่าบรรทัด ๕ เส้น จะใช้ ขีดเส้นสั้น ๆ ใต้บรรทัด ๕ เส้น ซึ่งเรียกเส้นสั้น ๆ นี้ว่า เส้นน้อย เป็นการเพิ่มโน้ตที่มีเสียงสูงขึ้นหรือ
เสียงตํา่าลงกว่าบรรทัด ๕ เส้น ดังภาพ
๓. เส้นกั้นห้อง
เสน้ นอ้ ย
เส้นกั้นห้องมีเพื่อให้การอ่านโน้ตและการบันทึกตัวโน้ตลงจังหวะตามที่ต้องการ โดยเมื่อจบ ๑ ห้องเพลงจะขีดเส้นกั้นห้อง ๑ เส้น และเมื่อจบบทเพลงจะขีดเส้นกั้นห้องสองเส้น เรียกว่า เครื่องหมาย จบเพลง เครื่องหมายจบท่อนเพลง
เส้นกั้นห้อง เครื่องหมายจบเพลง
เพลงไทย เพลงสากล และการปฏิบัติตามตัวโน้ต 9