Page 28 - ดนตรี-นาฏศิลป์ ม 1
P. 28
๓.๒ ประวัติและอิทธิพลของบุคคลท่ีมีช่ือเสียงด้านลิเก
ครูหอมหวล นาคศิริ
ครูหอมหวล นาคศิริ เป็นคนบ้านแพรก จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ท่านมีอุปนิสัยชอบดู การแสดงพื้นบ้าน เช่น เพลงเรือ เพลงฉ่อย เพลงเกี่ยวข้าว ลําาตัด มีปฏิภาณไหวพริบที่ดีมาก สามารถ จดจําาเนื้อร้อง ทําานองได้รวดเร็ว
เมื่อครูหอมหวลอายุได้ ๑๕ ปี ได้เข้ามาอยู่กับคณะลิเกของครูดอกดิน หรือคณะดอกดิน- ถวลิ ฟา้ แตอ่ ยูไ่ ดไ้ มน่ านกต็ อ้ งออกจากคณะ และไดพ้ บกบั ครแู กร หวั หนา้ คณะโขน ละคร และหุน่ กระบอก ที่มีชื่อเสียงแถววัดสระเกศ ครูแกรจึงได้ชวนครูหอมหวลไปอยู่ด้วย และถ่ายทอดท่ารําาต่าง ๆ จนครบถ้วน ครูหอมหวลอยู่กับครูแกรได้ ๕ ปี จึงขอลากลับบ้านเพื่อเข้ารับการเกณฑ์ทหาร หลังจาก พ้นกําาหนดเกณฑ์ทหาร ครูหอมหวลจึงมายึดอาชีพลิเกและตั้งคณะลิเกว่า คณะหอมหวล ให้ฝึกรําาและ ร้องด้วยตนเอง ซึ่งได้มีลูกศิษย์ในคณะจําานวนมากจึงได้ออกแสดงและเป็นที่ชื่นชอบ
คณะหอมหวลมีชื่อเสียงมาก เนื่องจากท่านได้ประพันธ์เรื่องและทําานองให้เข้ากับยุคสมัย และเหตุการณ์ไม่ซํา้าซาก ทําาให้มีความโดดเด่นแตกต่างจากละครคณะอื่น เป็นที่ชื่นชอบแก่คนดู
ลิเกที่สร้างชื่อเสียงให้แก่คณะหอมหวล คือ เรื่องโอรสใจสิงห์ ตอน ๑ และ ๒ บัวชายบึง พันท้ายนรสิงห์ และใต้ร่มไตรรงค์ ซึ่งครูหอมหวลเป็นผู้แต่งบทร้องเอง ครูหอมหวลบวชหลายครั้ง ครั้งสุดท้ายบวชที่วัดป่าเรไร และได้รับการแต่งตั้งเป็นเจ้าอาวาสองค์แรก มรณภาพรวมอายุได้ ๘๐ ปี
การแสดงลิเกลูกศิษย์ครูหอมหวล
ท่ีมา : www.th.wikipedia.org/wiki/ไฟล์ : สมพล_หอมหวล3.jpg
คําาถามท้าทาย นักเรียนรู้จักนักแสดงลิเกคนใดบ้าง แสดงเป็นอย่างไร 102 ดนตรี-นาฏศิลป์ ม.๑