Page 21 - หลักการเขียนโปรแกรม
P. 21
หลักการเขียนโปรแกรมและการวิเคราะห์งานเบื้องต้น 11
2) สามารถออกแบบโครงสร้างการทําางานได้หลากหลายโดยใช้ลูกศรแสดงทิศทาง การทําางาน ทําาให้แก้ปัญหาที่มีหลายทางเลือกและซับซ้อนได้
3) คาํา สงั่ หรอื คาํา บรรยายรายละเอยี ดในกลอ่ งขอ้ ความสามารถนาํา ไปเขยี นเปน็ คาํา สงั่ ของ โปรแกรมได้
5.3 การเขียนชุดคําสั่งหรือเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อแก้ปัญหา
หลังจากการออกแบบโปรแกรมแล้ว ให้นําาแนวคิดจากอัลกอริทึม รหัสเทียม หรือผังงาน มา แปลงใหอ้ ยใู่ นรปู คาํา สงั่ คอมพวิ เตอร์ ซงึ่ อาศยั ความรแู้ ละทกั ษะการเขยี นโปรแกรม โดยใชภ้ าษาคอมพวิ เตอร์ รวมทั้งเครื่องมือช่วยในการเขียนโปรแกรมต่างๆ เพื่อให้เกิดผลลัพธ์ถูกต้อง และทําางานตามที่เราต้องการ โดยพิจารณาจากองค์ประกอบดังนี้
5.3.1 เลือกภาษาที่เหมาะสม
5.3.2 ลงมือเขียนโปรแกรม โดยการแปลงขั้นตอนการทําางาน(ประมวลผล) ที่ได้จากการ ออกแบบ ให้อยู่ในรูปของคําาสั่งที่ถูกต้อง ตรงตามรูปแบบของภาษาที่เลือก
5.4 การทดสอบและแก้ไขโปรแกรม
เป็นขั้นตอนการตรวจสอบความถูกต้อง ทั้งในด้านชุดคําาสั่งและผลลัพธ์ของโปรแกรมว่าเป็น ไปตามวัตถุประสงค์ที่กําาหนดไว้หรือไม่ โดยการใช้โปรแกรมแปลภาษา มี 2 ลักษณะ คือ แบบที่หนึ่งเรียก วา่ อนิ เทอรพ์ รเี ตอร์ (Interpreter) จะแปลคาํา สงั่ และปฏบิ ตั ติ ามคาํา สงั่ ทลี ะคาํา สงั่ นนั่ คอื คาํา สงั่ จะถกู แปลกอ่ น ถ้าไม่มีข้อผิดพลาดทางรูปแบบ (Syntax Error) โปรแกรมจะปฏิบัติตามคําาสั่งนั้น แล้วแปลคําาสั่งถัดไป แต่ ถา้ มขี อ้ ผดิ พลาดเกดิ ขน้ึ โปรแกรมจะหยดุ แปลและแบบทสี่ องเรยี กวา่ คอมไพเลอร์(Compiler)จะเปน็ การ แปลทั้งหมดทุกคําาสั่งก่อน ถ้าไม่มีข้อผิดพลาดทางรูปแบบ คําาสั่งที่ถูกแปลเสร็จแล้วจึงจะถูกปฏิบัติตามได้ ตัวแปลภาษาระดับสูงโดยส่วนใหญ่จะใช้คอมไพเลอร์ เพื่อทําาการคอมไพล์โปรแกรม โดยมีการแสดงการ แจ้งเตือนหรือแจ้งข้อผิดพลาดดังนี้
5.4.1 คาํา เตอื น (Warning) เปน็ คาํา เตอื นทไี่ มร่ า้ ยแรง แตม่ กี ารใชง้ านบางอยา่ งทไี่ มเ่ หมาะสม ในขั้นตอนการแปลภาษาจากตัวแปลภาษาที่เรียกว่าคอมไพเลอร์แปลคําาสั่งได้ เช่น การประกาศตัวแปร ขึ้นมาแต่ไม่มีการนําาไปใช้งาน อย่างไรก็ตามถึงแม้เป็นข้อผิดพลาดที่ไม่ร้ายแรงแต่ไม่ควรเกิดขึ้น เพราะ อาจนําาไปสู่ความผิดพลาดในการประมวลของโปรแกรมหรือส่งผลเสียต่อประสิทธิภาพของโปรแกรมได้
5.4.2 ข้อผิดพลาด (Error) เป็นข้อผิดพลาดร้ายแรงต้องทําาการแก้ไข ไม่เช่นนั้นจะทําางาน ไม่ได้ หรือประมวลผลไม่ถูกต้อง มี 3 ลักษณะ คือ
1) ข้อผิดพลาดทางรูปแบบ (Syntax Error) เป็นข้อผิดพลาดที่เกิดจากการผิด รูปแบบของภาษา โดยทั่วไปเกิดจาก
(1) การตั้งชื่อตัวแปรผิดพลาด
(2) ลืมใส่เครื่องหมายอัฒภาค (Semicolon ;) ปิดท้ายคําาสั่ง (3) พิมพ์คําาสั่งผิด