Page 22 - หนังสือเรื่องเล่าของสัญญา
P. 22

นายวสันต์ ภัยหลีกลี อดีตผู้อําานวยการสถาบันต่อต้านการทุจริต คอรร์ ปั ชนั แหง่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ ซึ่งึ่ ปจั จบุ นั ดําารงตําาแหนง่ กรรมการ สิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ได้เล่าถึงที่มาของการจัดต้ังสถาบันต่อต้านการ ทุจริตคอร์รัปชันแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ว่า ในสมัยท่ีศาสตราจารย์ ดร.สมคดิ เลศิ ไพฑรู ย์ ดําารงตําาแหนง่ อธกิ ารบดมี หาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ มดี ําาริ จัดต้ังสถาบันที่จะช่วยเรื่องการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชันที่เกิดข้ึนและฝึัง รากลึกในสังคม โดยท่ีธรรมศาสตร์สามารถทําางานร่วมกับองค์กรอนื่ ๆ ได้ด้วย จงึ ไดเ้ ปดิ ตวั สถาบนั ตอ่ ตา้ นการทจุ รติ คอรร์ ปั ชนั แหง่ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ เปน็ ครงั้ แรกเมอ่ื วนั ท่ี 1 กรกฎาคม 2557 ในงาน “เหลยี วหลงั แลหนา้ 8 ทศวรรษ อภิวัฒน์สังคมไทย” ในวาระโอกาสครบรอบ 80 ปี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โดยสถาบันฯ แห่งนี้ดําาเนินงานในลักษณะคณะกรรมการ มีศาสตราจารย์ ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์ เป็นประธานคณะกรรมการอําานวยการ ศาสตราจารย์ ดร.นครินทร์ เมฆไตรรัตน์ รองอธิการบดีฝึายบริหารท่าพระจันทร์ในขณะ น้ันเป็นรองประธานกรรมการ และได้รับความร่วมมือจากผู้ท่ีมีบทบาทและ โดดเด่นเร่ืองการต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชันมาร่วมเป็นกรรมการอีกหลาย ท่าน อาทิ นายกล้านรงค์ จันทิก, นายมานิจ สุขสมจิตร, ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.วรภัทร โตธนะเกษม, รองศาสตราจารย์ ดร.สังศิต พิริยะรังสรรค์, นายเดชอุดม ไกรฤทธ์ิ, นายประสงค์ เลิศรัตนวิสุทธิ์, นายไพโรจน์ พลเพชร โดยนายวสันต์เองในฐานะผู้อําานวยการสถาบันฯ ดําารงตําาแหน่งเลขานุการ คณะกรรมการ
เมอ่ื ไดร้ บั ตําาแหนง่ เปน็ ผอู้ ําานวยการสถาบนั ตอ่ ตา้ นการทจุ รติ คอรร์ ปั ชนั แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นายวสันต์เล่าว่าได้รับการสนับสนุนจาก มหาวทิ ยาลยั เปน็ อยา่ งดยี งิ่ ทงั้ ในดา้ นสถานทสี่ ําานกั งานทอี่ าคารอเนกประสงค์ การจัดสรรเจ้าหน้าที่ให้มาช่วยเหลือด้านการประสานงานต่างๆ ภายใน มหาวทิ ยาลยั รวมทง้ั ศษิ ยเ์ กา่ ภายนอกมารว่ มเคลอ่ื นไหว และผเู้ ชยี่ วชาญตา่ งๆ
ให้เกียรติมาร่วมเป็นวิทยากร ซึ่ึ่งขณะนั้นสถาบันต่อต้านการทุจริตคอรร์ ัปชัน แห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ยังไม่ได้รวมกับสถาบันสัญญา ธรรมศักด์ิ เพอื่ ประชาธปิ ไตยและศนู ยศ์ กึ ษาเพื่อการพฒั นาทอ้ งถน่ิ บทบาทและภารกจิ หลกั ของสถาบนั ฯ ตอนนนั้ เนน้ การตอ่ ตา้ นการทจุ รติ คอรร์ ปั ชนั โดยมบี ทบาท เชิงวิชาการ การศึกษาค้นคว้าการวิจัย สร้างองค์ความรู้ และการประสาน เครือข่าย การส่งเสริมและรณรงค์ สถาบันฯ พยายามขับเคลื่อนงานให้ได้ มากท่ีสุด งานที่เด่นชัดคือ การรณรงค์ เผยแพร่และส่งเสริมค่านิยมท่ีต่อต้าน การทจุ รติ คอรร์ ปั ชนั มกี ารเดนิ สายจดั เสวนาหลายจงั หวดั อาทิ นครราชสมี า, อุบลราชธานี, พิษณุโลก, ลําาปาง และจังหวัดกาญจนบุรี เป็นต้น ซึ่่ึงได้รับ ความร่วมมือจากหลายๆ ท่านซึ่ึ่งเป็นที่รู้จักของสังคมในเรื่องการต่อต้าน คอร์รัปชันร่วมเป็นวิทยากร อาทิ นายประมนต์ สุธีวงศ์ ประธานองค์กร ต่อต้านการทุจริตคอร์รัปชันแห่งประเทศไทยในขณะน้ัน, นายวสันต์ สร้อยพิสุทธ์ิ อดีตประธานศาลรัฐธรรมนูญ, นายกล้านรงค์ จันทิก อดีต กรรมการ ป.ป.ช., ดร.สมเกียรติ ตั้งกิจวานิชย์ ประธานสถาบันวิจัยเพ่ือการ พัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ), นางผาณิต นิติทัณฑ์ประภาศ ผู้ตรวจการ แผ่นดินในขณะนั้น และนายธวัชชัย ยงกิตติกุล อดีตเลขาธิการสมาคม ธนาคารไทย โดยได้เดินสายให้ความรู้ถึงพิษภัยของการทุจริตคอร์รัปชัน
นอกจากนี้ยังมีงานเชิงนโยบาย ทางสถาบันฯ ได้ดําาเนินการหารือ ถึงแนวทางการแก้ไขรวมไปถึงการปฏิิรูปประเทศในปัญหาการทุจริต คอร์รัปชัน มีการยื่นข้อเสนอแนะให้รัฐบาล สภานิติบัญญัติแห่งชาติ สภาปฏิิรูปแห่งชาติ โดยมีมาตรการทั้งหมด 10 ข้อ เรียกร้องให้มีการปฏิิรูป การทุจริตคอร์รัปชันในเชิงโครงสร้างและเชิงนโยบาย อาทิ เสนอให้มี การปฏิิรูปกระบวนการยุติธรรม, ให้มีศาลพิเศษสําาหรับพิจารณาคดีทุจริต เป็นการเฉพาะ เนื่องจากประชาชนที่ถูกจับส่วนใหญ่เป็นคนธรรมดา แต่ นักการเมือง ผบู้ ริหารระดับสูงมักจะไม่ถูกดําาเนินคดี นอกจากนี้ ยังเสนอให้มี
  26 เรื่องเล่าของสัญญา
เร่ืองเล่าของสัญญา 27





























































































   20   21   22   23   24