Page 33 - หนังสือเรื่องเล่าของสัญญา
P. 33

ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ดร.ดวงมณีเลาวกลุ ผอู้ ําานวยการศนู ยศ์ กึ ษาเพอื่ การพฒั นาทอ้ งถนิ่ เลา่ วา่ ศนู ยศ์ กึ ษาเพอื่ การพฒั นาทอ้ งถนิ่ มบี ทบาทในเรอ่ื ง ท่ีเกี่ยวข้องกับท้องถิ่นและการพัฒนาท้องถิ่น ซึ่ึ่งศูนย์ฯ ได้มีการจัดกิจกรรม สมั มนาวชิ าการตา่ งๆอยา่ งตอ่ เนอ่ื งโดยพจิ ารณาจากประเดน็ ปญั หาในขณะนนั้ (Current Issues) และประเด็นในอนาคต เพ่ือเผยแพร่ความรู้แก่สังคม ซึ่่ึงแต่ละกิจกรรมจะมีการเชิญผู้มีความรู้ความสามารถ ผู้เชี่ยวชาญในด้าน ท้องถ่ินมาร่วมเป็นวิทยากร หรือแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และเผยแพร่ ความรู้ในเชิงวิชาการต่อสาธารณะ อาทิ การเปล่ียนแปลงรัฐธรรมนูญ ซึ่ง่ึ จะมคี วามเชอื่ มโยงในหลากหลายมติ ขิ องสงั คม ดา้ นทอ้ งถนิ่ กเ็ ปน็ สว่ นหนง่ึ ท่ี มกี ารระบไุ วใ้ นรฐั ธรรมนญู ซึ่งึ่ ศนู ยฯ์ ไดม้ กี ารจดั สมั มนาเพอื่ ระดมความเหน็ วา่ อนาคตของท้องถิ่น การกระจายอําานาจ และการปกครองท้องถ่ินไทย จะมี ทิศทางและพัฒนาไปอย่างไร นอกจากนัน้ ศูนย์ฯ ได้จัดสัมมนาระดมปัญญา ในประเด็นต่างๆ ทเี่ กี่ยวข้องกับท้องถน่ิ เช่น การกระจายอําานาจด้านการคลัง แนวทางการพฒั นารายไดข้ องทอ้ งถน่ิ แนวคดิ การจดั ตงั้ ควบรวมองคก์ รปกครอง ส่วนท้องถ่ิน การจัดตัง้ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินรูปแบบพิเศษ แนวคิดและ นวตั กรรมในการพฒั นาเมอื ง กฎหมายทเ่ี กยี่ วขอ้ งกบั การปกครองทอ้ งถน่ิ และ บทเรยี นจากตา่ งประเทศในการบรหิ ารงานสาธารณะ เปน็ ตน้ องคค์ วามรเู้ หลา่ น ี ้ สามารถนําาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นการพฒั นาทอ้ งถนิ่ เพอื่ ใหเ้ กดิ การเปลยี่ นแปลงใน ทิศทางที่ดขี ้ึนในอนาคต
นอกจากน้ี ศูนย์ฯ ในฐานะเป็นองค์กรหนึ่งในระดับมหาวิทยาลัย ต้องมีบทบาทในการให้ความรู้ในเชิงวิชาการที่เก่ียวกับการพัฒนาท้องถิ่นใน ประเดน็ ตา่ งๆ เพอ่ื ใหเ้ กดิ ประโยชนก์ บั สงั คมไทย ศนู ยฯ์ ยงั มกี ารจดั กจิ กรรมท่ี หลากหลายอาทิการจดั ฝึกึ อบรมเกย่ี วกบั การเพม่ิ การลงทนุ ในเดก็ ปฐมวยั ดว้ ย กลไกของทอ้ งถนิ่ ซึ่งึ่ ไดร้ บั ทนุ จาก องคก์ ร Unicef การจดั ทําารายการ “เหตเุ กดิ ที่ท้องถิ่น” ในช่อง Youtube ซึ่ึ่งจะเชิญผู้เช่ียวชาญด้านท้องถิ่นมาพูดคุย
ในประเดน็ ทแ่ี ตกตา่ งหลากหลาย การรวี วิ หนงั สอื ดา้ นทอ้ งถน่ิ การจดั ทาํา คลปิ วดิ โี อ เกย่ี วกับประเด็นต่างๆ เช่น ภาษีที่ดินและสงิ่ ปลูกสร้าง ฯลฯ ในส่วนของงาน ดา้ นวจิ ยั ศนู ยศ์ กึ ษาเพอ่ื การพฒั นาทอ้ งถนิ่ มงี านวจิ ยั ทร่ี ว่ มกบั องคก์ รภายนอก อาทิ งานวิจัยเกี่ยวกับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ซึ่่ึงร่วมกับ องค์กร Unicef เป็นต้น
ผู้อําานวยการศูนย์ศึกษาเพ่ือการพัฒนาท้องถ่ิน กล่าวเพิ่มเติมว่า สําาหรับการพัฒนาศูนย์ศึกษาเพ่ือการพัฒนาท้องถิ่น ในอนาคต ศูนย์ฯ จะต้องหาองค์ความรู้ใหม่ๆ ที่จะสามารถพัฒนาท้องถิ่นให้มากข้ึน และ พิจารณาว่ายังมีส่วนใดที่ท้องถิ่นไทยยังบกพร่องอยู่ หรือประเด็นใดที่เป็น อปุ สรรคในการพฒั นาทอ้ งถน่ิ อาจจะตอ้ งมกี ารระดมความคดิ เหน็ เชงิ วชิ าการ ในเรื่องต่างๆ เหล่านั้น และนําาเสนอความรู้และความเห็นต่อสาธารณะ นอกจากนนั้ ในขณะนี้ หลักสูตรการศึกษาสําาหรับเยาวชนเริ่มมีการให้ความรู้ ที่เกี่ยวข้องกับการปกครองท้องถ่ินไทย แต่อาจจะยังมีการสอนหรือให้ข้อมูล บางสว่ นทยี่ งั ไมถ่ กู ตอ้ งมากนกั ทําาใหข้ อ้ มลู ทน่ี กั เรยี นไดร้ บั มคี วามคลาดเคลอื่ น จึงได้มีแนวคิดการจัดกิจกรรมการอบรมครูในระดับประถมศึกษา ซึ่ึ่งจะเป็น ประโยชน์อย่างมากในการให้ความรู้ความเข้าใจท่ีถูกต้องต่อครูและนักเรียน เพราะ “นักเรียน หรือ เยาวชน หากมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง เก่ียวกับ การกระจายอําานาจ บทบาทของทอ้ งถนิ่ การปกครองทอ้ งถน่ิ การคลงั ทอ้ งถนิ่ รวมทั้งการเรียนรปู้ ระชาธิปไตยในระดับฐานราก ตงั้ แต่ยังเป็นเยาวชน เขาก็ จะเป็นกําาลังสําาคัญในการพัฒนาท้องถิ่นของตนเองและประเทศชาติต่อไป ในอนาคต”
  48 เรื่องเล่าของสัญญา
เร่ืองเล่าของสัญญา 49





























































































   31   32   33   34   35