Page 161 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม
P. 161
93
สงั ขารไมเ่ ทยี่ ง คอื ขนั ธท์ งั้ ๕ เปน็ ของไมเ่ ทยี่ ง เพราะฉะนนั้ เราเรมิ่ ตน้ ดว้ ยการกา หนดอาการทางกาย กา หนด อาการของรูป ด้วยการอาศัยอาการของลมหายใจ อาการพองยุบ อาการเต้นของหัวใจ
และอีกอย่างหนึ่ง อาการทางกายที่ปรากฏขึ้น คืออาการเคร่งตึง ความหนัก ความเบา ความร้อน ความเย็นที่เกิดขึ้นทางกาย ตรงนี้เขาเรียกว่าเป็นอาการของธาตุ ถ้าแยกก็เรียกเป็นอาการของธาตุทั้ง ๔ แต่ อาศัยกายเกิด จึงเรียกว่าอาการทางกาย อาศัยกายเกิดจึงเรียกว่าอาการทางกาย และอาการเหล่านี้ก็แสดง อาการพระไตรลักษณ์ และสภาวะเหล่านี้เขาก็จะเกิดสลับกันไปมาให้เราได้ตามรู้
สภาวธรรมทเี่ กดิ ขนึ้ สลบั กนั ไปมาใหเ้ ราตามรู้ ถา้ เราตามรตู้ อ่ เนอื่ งสตเิ รากต็ อ่ เนอื่ ง เมอื่ สตติ อ่ เนอื่ ง สมาธิก็ต่อเนื่อง เมื่อสมาธิต่อเนื่องเขาเรียกสติสมาธิก็แก่กล้าขึ้น ตั้งมั่นขึ้น แข็งแรงขึ้น ปัญญา ปัญญาอะไร ปัญญาเกี่ยวกับอะไร ปัญญาเกี่ยวกับธรรมะ ปัญญาทางธรรม คือปัญญาที่เราเห็นถึงสัจธรรม การเกิดขึ้น ตั้งอยู่ดับไป เห็นอาการพระไตรลักษณ์ของอาการทางกาย ตรงนี้แหละ พอเรารู้มาก ๆ อาการอย่างที่บอก แลว้ วา่ พอเรารลู้ มหายใจ การเกดิ ดบั ของลมหายใจ รอู้ าการเกดิ ดบั ของพองยบุ รอู้ าการเกดิ ดบั การเตน้ ของ หัวใจ พอรู้ไปสักระยะ บางทีสติมีกาลังมากขึ้น กายเราจากที่เราเห็นว่าอาการของลมหายใจอยู่ที่ตัว อาการ พองยุบอยู่ที่ตัว ตัวเริ่มหายไปตัวหายไปว่างไป เหลือแค่อาการอย่างเดียว ตรงนี้เขาเรียกเพิกบัญญัติ
ความเป็นรูปร่างของตัวหายไป ไม่มีแล้วบอกอะไร นี่เป็นตัวบอกว่า รูปร่างกายอันนี้เป็นของว่าง เปล่า เรายึดเอาเป็นสรณะที่เป็นสูงสุดไม่ได้ ทุกอย่างก็จะว่างเปล่า แล้วเราก็จะเคยได้ยินอย่างที่บอกว่า ที่สุดแล้วคนเราก็กลับไปสู่ความว่างเปล่าไม่มีอะไรเลย สิ่งที่พาเราไปได้คือบุญกุศลที่เราทาที่ติดตัวเราไป ความดีเท่านั้น ความดีที่ทาไว้เท่านั้นที่พาติดตัวไปได้ในภพชาติต่อ ๆ ไป
แต่การเจริญวิปัสสนากรรมฐานนั้น เป้าหมายสูงสุดของการปฏิบัติ ไม่ใช่เพื่อไปเกิดภพชาติต่อไป แตเ่ พอื่ การออกจากวฏั สงสาร เพอื่ การออกจากวฏั สงสาร เพราะฉะนนั้ การเหน็ ความจรงิ ปญั ญาตรงนแี้ หละ ถามว่าเรามานั่งคิดอย่างเดียวไม่พอ คิดอย่างเดียวเข้าใจ ถ้าเข้าไม่ถึงเราก็ยังเป็นเหมือนเดิม เข้าใจแล้วยัง ทุกข์เหมือนเดิมก็ไม่ได้เปลี่ยนแปลงอะไร แต่การเข้าถึงคือการได้เห็นด้วยตัวเอง ด้วยตาปัญญาของตัวเอง อย่างชัดเจน นั่นแหละเป็นวิธีการที่เขาเรียกว่ารู้อย่างแจ่มแจ้ง และจะทาให้จิตคลายจากอุปาทาน จิตเราจะ ปล่อยวางเอง ไม่ต้องไปบอกว่าฉันต้องปล่อยวางแล้วนะ อายุมากแล้วนะ ยึดไม่ได้แล้วนะ จริง ๆ เขาฟ้อง มาตั้งนานแล้ว ไม่มีอะไรยึดได้ เพราะลมหายใจเกิดดับตลอดเวลา อาการต่าง ๆ เกิดดับตลอดเวลา
ทีนี้เรามาปฏิบัตินี่นะ เพื่อพัฒนาสติสมาธิปัญญาของเราให้แก่กล้า ให้เห็นแจ่มแจ้งด้วยตัวเองจาก สิ่งที่เราเคยได้ยินได้ฟังว่า รูปนามขันธ์ ๕ เป็นของไม่เที่ยงเป็นทุกข์เป็นอนัตตา ไม่ควรเข้าไปยึดมั่นถือมั่น เพราะอะไรรูปนามขันธ์ ๕ เป็นชีวิตเรา เราก็ยึดสิ่งที่เกิดขึ้นในชีวิตของเรา แล้วก็ทาให้ทุกข์กับสิ่งนั้น คือรูป นามขนั ธ์ ๕ ทเี่ รายดึ อยู่ อนั นคี้ อื เปน็ เรอื่ งของกาย ทนี พี้ ดู ถงึ วา่ เวลาเราปฏบิ ตั ใิ หม้ เี จตนากา หนดรใู้ นลกั ษณะ อย่างนี้ นี่คืออาการทางกายที่เกิดขึ้น เป็นอารมณ์หลัก ๆ เลย ลองสังเกตดูได้นะ เวลาเราปฏิบัติธรรมนั่ง ไปสักพัก เดี๋ยวปวดหัวเข่า เดี๋ยวปวดหลัง เดี๋ยวปวดตรงนั้น เดี๋ยวปวดตรงนี้ อันนั้นคือเวทนา นี่คืออาการ ทางกาย