Page 202 - ๕๐ ปี ๑๐๐ สัจธรรม
P. 202

134
ถามว่า ถ้าเรามัวแต่สังเกตอาการ จะทางานได้ไหม ? จริง ๆ ก็คือทางานไปสังเกตไป แล้วถ้าจิต เราคล่องขึ้นไวขึ้น ลองสังเกตต่ออีกนิดหนึ่ง จะได้ดูว่าใช้งานได้มากแค่ไหน ขณะที่เราหัน สังเกตอาการ เคลอื่ นไหวในอริ ยิ าบถยอ่ ยอยใู่ นความวา่ ง ลองดนู ะ กอ่ นทจี่ ะขยบั นดิ หนงึ่ รสู้ กึ กอ่ นไหม รสู้ กึ กอ่ นปบุ๊ อาการ เคลื่อนไหวนั้นชัดเจนไหม ? บางแห่งเขาใช้ “อยากหนอ อยากหนอ...” แต่จริง ๆ คือสังเกตอาการ รู้ก่อน นิดหนึ่งแล้วเคลื่อนไปขยับไป สังเกตต่อไปเรื่อย ๆ พอจิตสั่งแล้วเคลื่อนไปขยับไป มีอาการเกิดดับไป พอ จะกลับนี่ จิตสั่งอีกหรือเปล่า หรือว่าไม่สั่งกลับมาเรียบร้อยแล้ว ? ไม่สั่ง ไม่ใช่ว่าเขาไม่สั่ง แต่เราไม่เห็น สติ เราไม่ทัน ตรงนี้เราจะเห็นว่าจิตเป็นนายกายเป็นบ่าวนั้นเป็นอย่างไร
การใส่ใจตรงนี้เป็นการฝึกจิตของเราให้ไวขึ้นละเอียดขึ้น สติเราจะแก่กล้าขึ้น แล้วเห็นถึงธรรมชาติ ของจติ ทที่ า งานจรงิ ๆ และการทสี่ งั เกตตน้ จติ กอ่ นแลว้ สงั เกตอาการบอ่ ย ๆ จะทา ใหเ้ ราเหน็ เจตนาของการ กระทาตัวเองมากขึ้น อาจารย์เฉลยอีกแล้ว! จริง ๆ แล้วต้องเป็นโยคีที่บอกว่าทาแล้วรู้สึกดียังไง สังเกต ตอนที่เรารู้ก่อนขยับ รู้ก่อนเคลื่อนไหว สติเราเป็นไง จิตตั้งมั่นไหม ? ตั้งมั่น นี่คือสาเหตุว่าทาไมต้องทา แบบนี้ ทาเพื่อให้จิตตั้งเรามั่นขึ้น สติเราชัดเจนขึ้น ตรงนี้แหละที่เราจะมีสติรู้ทันอาการของตัวเอง มีสติรู้ทัน ความคดิ ของตวั เอง คดิ กอ่ นทา แลว้ ไมใ่ ชแ่ คค่ ดิ กอ่ นทา คดิ จบแลว้ กอ่ นจะทา ยงั รอู้ กี วา่ จะทา เพอื่ อะไร อนั นี้ แหละความละเอยี ดของจติ เรา เพยี งแตว่ า่ บางทพี อสบายแลว้ กไ็ มค่ อ่ ยไดใ้ สใ่ จ พอเดนิ ไมม่ ตี วั แลว้ ไมส่ นใจ ต้นจิต ไม่สังเกตอาการ เดินแบบลอย ๆ สบายดี ความละเอียดของจิตก็เลยไม่เพิ่มขึ้น
จริง ๆ แล้วไม่มีวิธีไหนที่จะเพิ่มปัญญาให้ละเอียดแยบคายขึ้นได้เท่ากับการใส่ใจสังเกตอาการที่ เป็นปัจจุบันที่เกิดขึ้น ที่เราเรียกว่า “ธัมมวิจยะ” การสอดส่องธรรม “โยนิโสมนสิการ” เป็นไปตามเหตุและ ผล เปน็ เหตเุ ปน็ ผลของอาการทเี่ กดิ ขนึ้ แมเ้ ราศกึ ษาแตถ่ า้ เราไมร่ จู้ กั สงั เกตเรากไ็ มไ่ ดร้ อู้ ะไรทตี่ า่ งจากทฟี่ งั มา แต่ถ้าเราสังเกตเราจะรู้ว่าที่ต่างไปเป็นอย่างไร ต่อจากนี้เป็นอย่างไร แล้วที่ต่างไปนี่ดีหรือไม่ดีอย่างไร ตรงที่ ดหี รอื ไมด่ อี ยา่ งไรตรงนแี้ หละทรี่ วู้ า่ เมอื่ กาหนดตน้ จติ แลว้ ทา ใหส้ ตเิ ราดขี นึ้ ไหม ทา ใหส้ มาธเิ ราจติ เราตงั้ มนั่ ขึ้นไหม ทาให้รู้เท่าทันอารมณ์ตัวเองมากขึ้นไหม ทาไมถึงบอกว่ารู้เท่าทันอารมณ์ตัวเองมากขึ้น ? เพราะว่า อารมณ์ตัวเองมันเป็นกิเลสที่เกิดขึ้นมา อารมณ์ข้างนอกก็เป็นปกติของเขา เสียงเดี๋ยวดังเดี๋ยวไม่ดัง ภาพที่ เห็นเดี๋ยวงดงามเดี๋ยวไม่งดงาม นั่นก็เป็นปกติของเขา แต่จิตของเราที่ไปรับรู้เป็นจิตแบบไหน
ถ้าจิตเรามีความว่างรองรับมีบรรยากาศรองรับ ลองดู พอนึกถึงภาพที่ไม่งดงาม เขาปรุงแต่งจิต เราได้ไหม ทาให้จิตเราไม่งามไปด้วยไหม ? พอจิตไม่งดงามหน้าก็พลอยเป็นไปด้วย ตรงที่จิตเราเป็นเหตุ เขาเรียก “นามเป็นเหตุ-รูปเป็นผล” รูปอันนั้นเกิดจากจิตที่ไม่ดี จึงทาให้รูปไม่ดีไปด้วย เขาเรียก “จิตตชรูป” จิตที่ทาให้รูปเป็นแบบนี้ รูปที่เกิดจากจิต อย่างเรายกมือ จิตสั่งให้ยก รูปคือมือก็ยกขึ้นมา อันนี้คืออาการ ของรูปที่เกิดจากจิตของเรา เวลาเราไม่สบายใจ หน้าเราก็เปลี่ยนสี อันนี้คือรูปที่เกิดจากจิต เพราะฉะนั้น ให้เราสังเกตอาการและมีบรรยากาศรองรับเรื่อย ๆ ให้จิตเรากว้าง แล้วมีความสงบ มีความตั้งมั่น หรือมี พลังมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นความสงบ ความใส ความเบา ความสุข ไม่ว่าจะเป็นตัวไหนก็ตามเป็นกุศลทั้งหมด แล้วเพิ่มพลังเขาให้มาก คือให้เพิ่มความหนาแน่นขึ้น


































































































   200   201   202   203   204